วัฒนธรรมการแสวงหาความรู้ในอิสลาม
คำสำคัญ:
วัฒนธรรม, การแสวงหาความรู้ในอิสลามบทคัดย่อ
บทความนี้มุ่งศึกษาวัฒนธรรมการแสวงหาความรู้ในอิสลาม ใช้วิธีการศึกษาเอกสารเชิงพรรณนาวิเคราะห์ จากการศึกษาพบว่าความรู้มีสถานภาพที่สำคัญยิ่งในอิสลาม เป็นปัจจัยชีวิตสำคัญที่จะนำไปสู่ความศรัทธาที่เที่ยงแท้และการปฏิบัติการงานที่ถูกต้อง เป็นกุญแจสำคัญในการทำให้มนุษย์เปลี่ยนแปลงและดำเนินชีวิตได้อย่างมีความสุขทั้งในพิภพและสัมปรายภพ และวัฒนธรรมการแสวงหาความรู้ในอิสลามนั้นประกอบด้วย 1) การให้ความสำคัญสูงสุดต่อการศึกษาอัลกุรอานและจริยวัตรศาสนทูต (ศ็อล)[1] 2) การเดินทางเพื่อแสวงหาความรู้ และ 3) การให้ความสำคัญกับศาสตร์ต่างๆ
[1] ย่อจาก “ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม” คำอำนวยพรภาษาอาหรับ แปลว่า ขอพระองค์อัลลอฮฺทรงอำนวยพร และสันติสุขแด่ท่าน
References
ซอลีฮะห์ หะยีสะมะแอ. (2551). มโนทัศน์การศึกษาในอิสลาม. หาดใหญ่ สงขลา : โรงพิมพ์ชานเมือง.
อานนท์ อาภาภิรม. (2516). สังคมวิทยา. กรุงเทพฯ : แพร่วิทยาอินเตอร์เนชั่นแนล. อนุมานราชธน, พระยา. (2515). วัฒนธรรมเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ : การศาสนา.
Abdul Haq, Mahar. (1990). Educational Philosophy of the Holy Qur’an. Pakistan: Institute of Islamic Culture.
Al-Jawziyyah, Ibn Qaiyim and Ibn Abibakr, Muhammad. (n.d.). Ai-Wabil as-Saiyib wa Rafia’ al-Kalim at-Taiyib. Maktab al-Islamiyyah.
Ali, Alizan and Zin, Mat. (2004). Ilmu dan Pembagunan Masy rakat Menurut Islam, Tamadun Islam dan Tamadun Asia, kuala Lumpur: Penerbit Universiti Malasia.
Al–Asbahani, Abu Naim and Ibn‘Abdullah, Ahmad. (1998). Ma‘rifat as–Sahabah. Riyadh: Dar al Watan.
Ar-Raziy, Fakhruddin. (1993). Manaqib ash-Shafi‘iy. Ahmad Hajaziy as-Sagga.Ed. (n.d.) Bairut: Dar al-Jil.
Hashim, Rosnani. (2001). “Kurukulam Pendidikan dari Perspektif Islam dalam Konteks Pendidilan di Malasia” in Journal Pendidikan Islam: University of Malaysia. Leman.
Wan Kamariah. (2002). Sejarah dan Tamandun Islam. Selangor, Darul Ehsan: UITM.
Madmarn, Hasan. (1989). “The Poondok and Change in South Thailand, Aspects of Development Islamic Education in Thailand and Malaysia 47-92. Malaysia: Institute of Malay Language, Literature and Culture University Kebangsaan Malaysia Bangi.
Nawas, Abdul Rahman. (1995). Tamadun Islam. Kuala Lumpur: Pustaka Haji Abdul Majid.
Qaradhawi, Yosof. (1997). Al-Rasul wa al-Ilmu. Beirut, Lebanon: al-Risalah Publishing House.
Rahman, Afzalur. (1981). Quranic Sciences. India: The Muslim School Trust.
Talor, E.B. (1889). Primitive Culture. New York: Holt.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความทุกเรื่อง ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารอิสลามศึกษาเป็นแนวคิดของผู้เขียน มิใช่เป็นความคิดเห็นคณะผู้จัดทำและมิใช่ความรับผิดชอบของคณะวิทยาการอิสลาม กองบรรณาธิการไม่สงวนสิทธิ์การคัดลอก แต่ให้มีการอ้างอิงแสดงที่มา