ปริทรรศน์ความยั่งยืนที่เปลี่ยนวิถีวัฒนธรรม การเรียนรู้สังคมศึกษา

ผู้แต่ง

  • กฤติภัทร สระทองชุน สาขาวิชาประวัติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ 50200
  • ชรินทร์ มั่งคั่ง สาขาวิชาสังคมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ 50200

คำสำคัญ:

ความยั่งยืน, การเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน (Project-based Learning) , การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ , การพัฒนาอย่างยั่งยืนในบริบทการศึกษา

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อปริทัศน์การบูรณาการแนวคิดความยั่งยืนในวิชาสังคมศึกษาผ่านการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน (Project-based Learning) โดยมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ การแก้ปัญหา และการตระหนักรู้ในประเด็นการพัฒนาที่ยั่งยืน วิธีการศึกษาประกอบด้วยการวิเคราะห์เอกสารและกรณีศึกษาที่เกี่ยวข้อง ผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่าการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน (Project-based Learning) สามารถช่วยให้นักเรียนเข้าใจผลกระทบของปัญหาสิ่งแวดล้อม สังคม และเศรษฐกิจในบริบทท้องถิ่น ขณะเดียวกันยังพบข้อจำกัดในด้านทรัพยากรและการประยุกต์ใช้ในหลักสูตร บทความเสนอแนวทางแก้ไขผ่านการประสานความร่วมมือกับชุมชน การปรับปรุงหลักสูตร และการประเมินผลที่เน้นคุณภาพ เพื่อส่งเสริมการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

ดังนั้น การเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน (Project-based Learning) ส่งเสริมทักษะสำคัญ เช่น การคิดวิเคราะห์ การแก้ปัญหา และการทำงานร่วมกัน โดยเชื่อมโยงความรู้สู่ชีวิตจริงและความยั่งยืน แตกต่างจากการสอนแบบท่องจำที่จำกัดความเข้าใจลึกซึ้ง การเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน (Project-based Learning) ช่วยสร้างนักเรียนที่มีส่วนร่วม ตระหนักถึงบทบาทในสังคม และพัฒนาที่ยั่งยืน

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. ม.ป.พ.

แจ่มนภา ล้ำจุมจัง, สุนันทา กลิ่นถาวร และ ธรัช อารีราษฎร์. (2566). การสังเคราะห์รูปแบบการเรียนรู้แบบโครงงานด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อส่งเสริมการคิดวิเคราะห์. วารสารวิชาการการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ, 9(1), 87-99. จาก https://ph02.tci-thaijo.org/index.php/project-journal/article/view/249329.

ชญาณี ขวัญชูนุช. (2564). การจัดการเรียนรู้โดยใช้เกมจำลองสถานการณ์ (Simulation gaming): Tropical Paradise วิชาการบริหารและการจัดการท่องเที่ยว 1. DeSec-Journal Articles, 105-109. จาก https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/27931.

ชรินทร์ มั่งคั่ง. (2565). ปัญญาการสอนสังคมศึกษา. เชียงใหม่: ลานนาการพิมพ์.

ฐิฏิภัทร์ เดชพิพัฒน์วรกุล, กฤษณา คิดดี และ ศิริรัตน์ เพ็ชร์แสงศร. (2563). ผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานสะตีมเป็นฐานด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมที่มีต่อความสามารถในการแก้ปัญหา สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 25(1), 117-130.

ธันย์พศุตม์ พรหมมา. (2566). การพัฒนาการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน (PBL) วิชาภูมิศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. วารสารครุศาสตร์วิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, 8(2), 173-186. จาก https://so05.tci-thaijo.org/index.php/jeducrru/article/view/265169.

ธีรพัฒน์ วงศ์คุ้มสิน และ เฉลิมขวัญ สิงห์วี. (2563). การจัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ด้วยการนำตนเอง. วารสารสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 46(1), 218-253. จาก https://so04.tci-thaijo.org/index.php/socku/article/view/241841.

พจนา มาโนช. (2567). ปรัชญาการศึกษาตามหลักปรัชญาหลังนวยุคสายกลาง. วารสารสถาบันพอดี, 1(9), 1-14. จาก https://so16.tci-thaijo.org/index.php/IS-J/article/view/1025.

พิชญา กล้าหาญ และ วิสูตร โพธิ์เงิน. (2564). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดกระบวนการคิดเชิงออกแบบร่วมกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน เพื่อส่งเสริมความเป็นนวัตกรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 49(2), 1-16. DOI: 10.58837/CHULA.EDUCU.49.2.13.

วิภาพรรณ พินลา และ วิภาดา พินลา. (2561). การจัดการเรียนรู้สังคมศึกษาในยุคศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: ศูนย์หนังสือแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ศูนย์วิจัยอนาคตศึกษา ฟิวเจอร์เทลส์ แล็บ. (2564). อนาคตของความยั่งยืน. กรุงเทพฯ: บริษัทต้นกล้าการพิมพ์ จํากัด.

สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. (2564). การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม. สืบค้น 16 พฤศจิกายน 2567, จาก https://sdgs.nesdc.go.th/sdgs/.

สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (ม.ม.ป.). เกี่ยวกับ SDGs.

สืบค้น 14 พฤศจิกายน 2567, จาก https://alumni.mahidol.ac.th/sustainability/.

แสงงาม นิธิภคพันธ์, ทัศนีย์ มูลคำปลิว, ดวงจันทร์ แก้วกงพาน, ชิสาพัชร์ ชูทอง และ สุดาภรณ์ สืบสุตัน. (2564). การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน (Community Based Learning: CBL) เพื่อส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์และทักษะ ในศตวรรษที่ 21 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. วารสารสหวิทยาการเพื่อการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์, 11(1), 111-125. จาก https://so06.tci-thaijo.org/index.php/GRAURU/article/view/246734.

อุไรวรรณ คัชพงษ์ และ ประจบ ขวัญมั่น. (2566). การประเมินโครงการส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชนของสถานศึกษาขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากำแพงเพชร. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต, 11(3), 248–259. จาก https://so02.tci-thaijo.org/index.php/JCDLQ/article/view/263636.

อำพร ดัชถุยาวัตร และ ลดาวัลย์ มะลิไทย. (2566). การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สังคมศึกษาเพื่อส่งเสริมความเป็นพลเมืองโลกในผู้เรียน. วารสารมหาจุฬาคชสาร, 14(1), 63-74. จาก https://so06.tci-thaijo.org/index.php/gajasara/article/view/264731.

Buchanan, L. B., & Crawford, E. O. (2015). Teaching for sustainability in a social studies methods course: Opportunities and challenges. Social Studies Research and Practice, 10(2), 135-156.

Farrell, A., & Hart, M. (2010). What does sustainability really mean? The search for useful indicators. Environment: Science and Policy for Sustainable Development, 40(9), 4-31.

Giovannoni, E., & Fabietti, G. (2014). What is sustainability? A review of the concept and its applications. In C. Busco, M. L. Frigo, A. Riccaboni, & P. P. Quattrone (Eds.), Integrated reporting, 21-40.

Leal Filho, W., Raath, S., Lazzarini, B., Vargas, V. R., de Souza, L., Anholon, R., Quelhas, O. L. G., Haddad, R., Klavins, M., & Orlovic, V. L. (2018). The role of transformation in learning and education for sustainability. Journal of Cleaner Production, 199, 286–295. Form: https://doi.org/10.1016/j.jclepro.2018.07.017.

Panagiotakopoulos, P., Espinosa, A., & Walker, J. (2015). Integrated sustainability management for organizations. Kybernetes, 44(6/7), 984-1004. Form: https://doi.org/10.1108/K-12-2014-0291.

Rabie, M. (2016). A theory of sustainable sociocultural and economic development. Springer.

Ramsey, J. L. (2015). On not defining sustainability. Journal of Agricultural and Environmental Ethics, 28(6), 1075–1087.

Roseland, M. (2000). Sustainable community development: Integrating environmental, economic, and social objectives. Progress in Planning, 54, 73–132.

Salas-Zapata, W. A., & Ortiz-Muñoz, S. M. (2019). Analysis of meanings of the concept of sustainability. Sustainable Development, 27(1), 153-161.

THAIRATH ONLINE. (2023). รู้จัก SDGs กับ 17 เป้าหมาย “การพัฒนาที่ยั่งยืน" มุ่งรักษาสิ่งมีชีวิตทุกชนิดบนโลก. Future perfect. สืบค้น 16 พฤศจิกายน 2567, จาก https://www.thairath.co.th/futureperfect/articles/2722753.

World Commission on Environment and Development. (1987). Our common future. Oxford University Press.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-12-20

How to Cite

สระทองชุน ก. ., & มั่งคั่ง ช. (2024). ปริทรรศน์ความยั่งยืนที่เปลี่ยนวิถีวัฒนธรรม การเรียนรู้สังคมศึกษา. Trends of Humanities and Social Sciences Research, 12(2), 1–26. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/Humanties-up/article/view/282653