ปัจจัยที่ส่งผลต่อความพึงพอใจในการเข้าใช้งานระบบบันทึกกิจกรรมเสริมหลักสูตรของนักศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล

ผู้แต่ง

  • ธารีย์ณิชา ลีพีรวิทิต กองกิจการนักศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล จังหวัดนครปฐม 73170
  • ปเนต กุลฉันท์วิทย์ กองกิจการนักศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล จังหวัดนครปฐม 73170

คำสำคัญ:

กิจกรรมเสริมหลักสูตร, ความพึงพอใจ, ระบบบันทึกกิจกรรมเสริมหลักสูตร

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจของผู้ใช้งานระบบบันทึกกิจกรรมเสริมหลักสูตร 2) ศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้งานระบบบันทึกกิจกรรมเสริมหลักสูตร กลุ่มตัวอย่างคือ นักศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล ระดับปริญญาตรี จำนวน 1,031 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม ค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามเท่ากับ 0.96 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า ส่วนงานและชั้นปีมีความพึงพอใจในการใช้งานระบบแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.01 และ 0.05 ตามลำดับ ปัจจัยด้านคุณภาพระบบ ปัจจัยด้านคุณภาพข้อมูล ปัจจัยด้านการรับรู้ความง่ายในการใช้งาน ปัจจัยด้านการออกแบบและการจัดรูปแบบ และปัจจัยด้านการรับรู้ประโยชน์ มีผลต่อความพึงพอใจในการใช้งานระบบบันทึกกิจกรรมเสริมหลักสูตร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.01 ในส่วนของระดับความพึงพอใจการใช้งานระบบในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 4.22 โดยด้านที่มีความพึงพอใจมากที่สุดคือ ด้านการรับรู้ความง่ายในการใช้งาน ค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 4.30

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2557). แนวทางปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมการเกษตร แห่งประเทศไทย.

จักรพันธ์ หวาจ้อย และ มนตรี ใจแน่น. (2560). การพัฒนาระบบสารสนเทศด้านกิจกรรมนักศึกษา คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร. ประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 4 (1296-1305). กำแพงเพชร: มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร.

จันทร์เพ็ญ ชูประภาวรรณ. (2548). เด็กไทยใครว่าโง่. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์อมรินทร์พริ้นติ้ง.

จารุกิตติ์ สายสิงห์. (2566). การพัฒนาระบบสารสนเทศกิจกรรมนักศึกษาผ่านเว็บแอพพลิเคชั่น: กรณีศึกษามหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. Journal of Modern Learning Development, 8(4), 160-173.

ณัฏฐวุฒิ ทรัพย์อุปถัมภ์. (2556). ทฤษฎีและหลักการพัฒนาชุมชน. จันทบุรี: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี.

ณัฐที ปิ่นทอง. (2560). นวัตกรรมระบบการเข้าร่วมชมรมของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์. วารสารการศึกษาและการพัฒนาสังคม, 13(1), 365-379.

ธานินทร์ ศิลป์จารุ. (2557). การวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS และ AMOS (พิมพ์ครั้งที่ 15). นนทบุรี: เอส อาร์ พริ้นติ้ง แมสโปรดักส์ จำกัด.

นันทพงศ์ หมิแหละหมัน, นรรถสรรพ เล็กสู่, เฉลิมชาติ เมฆแดง และ วัฒนา จินดาวัฒน์. (2563). การใช้กิจกรรมนักศึกษาเพื่อพัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของบัณฑิตไทย. วารสารวิชาการสถาบันเทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิ, 6(2), 559-567.

นันธิดา ทีฆภาคย์วิศิษฏ์, จินดานนท์ ศิริรัตน์ และ สุภาภรณ์ นักฟ้อน. (2559). ปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจในการลงทะเบียนออนไลน์เพื่อสมัครเข้าร่วมโครงการฝึกอบรมของบุคลากรคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. วารสาร Mahidol R2R e-Journal, 3(2), 121-140.

บรรจง มไหสวริยะ. (2562). ม.มหิดล ผลักดันทักษะในโลกยุคศตวรรษที่ 21 เตรียมพร้อมนักศึกษาก้าวสู่การเป็นพลเมืองโลก. Techsauce. สืบค้น 4 พฤศจิกายน 2562, จาก https://techsauce.co/pr-news/mahidol-university-21st-century-skill/.

ปเนต กุลฉันท์วิทย์. (2563). คู่มือการปฏิบัติงานสำหรับผู้รับผิดชอบด้าน Mahidol Activity Transcript. สืบค้น 17 มกราคม 2565, จาก https://activity.mahidol.ac.th/.

ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ. (2552). ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552. สืบค้น 7 ตุลาคม 2565, จาก https://registrar.ku.ac.th/wp-content/uploads/eduserv/data_curri/NQF/NQF01.pdf.

ภัทรสุดา พิชยกัลป์, ภาณุพัฒน์ บุตรดีไชย และ วิชิต ลือยศ. (2565). การบริหารกิจกรรมเสริมหลักสูตรและกิจกรรมนักเรียนเพื่อพัฒนาศักยภาพผู้เรียน. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี, 13(2), 106-112.

ภัทราวดี โศจิศรีสกุล. (2565). ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับและการนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศไปใช้งานของบุคลากร ในส่วนงานการผลิต. นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหิดล.

มนต์สวรรค์ พลอยมุกดา, ชนกฤต มิตรสงเคราะห์, แพรว พิมพ์โพธิ์ และวรากร ราชธา. (2565). ระบบสารสนเทศจัดการกิจกรรมนักศึกษา กรณีศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลััยราชภััฏกาญจนบุุรี, 11(2), 274–287.

มหาวิทยาลัยมหิดล. (2560). Mahidol Core Values. สืบค้น 25 พฤษภาคม 2565, จาก https://mahidol.ac.th/th/mahidol-core-values/.

วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีการสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสด ศรีสฤษดิ์วงศ์.

วิทวัส เพ็ญภู่ และ พีร วงศ์อุปราช. (2567). การพัฒนาระบบสารมนเทศเพื่อการบริหารงานบริการวิชาการของวิทยาลัยวิทยาการวิจัยและวิทยาการปัญญา มหาวิทยาลัยบูรพา. วารสาร Mahidol R2R e-Journal, 11(1), 91-103.

ศศิจันทร์ ปัญจทวี และ กัลยา ใจรักษ์. (2560). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการนำระบบสารสนเทศมาใช้ กรณีศึกษาสถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตเชียงใหม่. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.

ศุภชัย ชัยประเสริฐ, เพ็ญศรี อมรศิลปชัย และ ปฐมาภรณ์ เถาว์พัน. (2561). การพัฒนาระบบสารสนเทศงานกิจกรรมนักศึกษาผ่านเว็บแอปพลิเคชัน กรณีศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีพนมวันท์. การประชุมวิชาการนำเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตแห่งชาติ ครั้งที่ 47 (น. 1155-1166). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

สถาพร พฤฑฒิกุล. (2556). ปัจจัยสภาพแวดล้อมทางการเรียนทีส่งผลต่อแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ทางการเรียนของนิสิตหลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต. (วิทยานิพนธ์สาขาวิชาการบริหารการศึกษา). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

สังสรรค์ หล้าพันธ์, มัลลิกา หล้าพันธ์. (2566). ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดกิจกรรมนักศึกษาและวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย. การประชุมวิชาการระดับชาติด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ครั้งที่ 5

วันที่ 10 มีนาคม 2566 (357-368). เลย: มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2551). คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: บริษัท อิมเมจจิ้ง พริ้นติ้ง จำกัด.

เสริมพงษ์ พรมลี. (2559). กิจกรรมเสริมหลักสูตรที่พึงจะเป็น. วารสารศึกษาศาสตร์ ฉบับวิจัยบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 10(2), 156-164.

แสงเดือน แก้วประสม และ ปรัชญนันท์ นิลสุข. (2552). การพัฒนาระบบสารสนเทศแบบออนไลน์ฝ่ายพัฒนานักศึกษาของมหาวิทยาลัยธนบุรี. วารสารเทคโนโลยีสารสนเทศ, 5(9), 34-42.

อภินันท์ ขันแข็ง, ปริยาภรณ์ ตั้งคุณานันต์ และ พรรณี ลีกิจวัฒนะ. (2558). การพัฒนาระบบสารสนเทศการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษาคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฐรำไพพรรณี. วารสารครุศาสตร์อุตสาหกรรม, 14(1), 69-75.

อับดุลเลาะ ยาหะยอ, มูฮำหมัด กะลูแป, และ บุญธิดา จิรรัตนโสภา. (2564). แอปพลิเคชันกิจกรรมนักศึกษา คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. การประชุมวิชาการระดับชาติ ด้านวิทยาศาสตร์และเครือข่ายภาคใต้ ครั้งที่ 6. สงขลา: มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา.

Activity Transcript. (2552). ความสำคัญของกิจกรรมเสริมหลักสูตร. สืบค้น 25 พฤษภาคม 2565, จาก https://activity.mahidol.ac.th/about.

Activity Transcript. (2558). คู่มือ Activity Transcript. สืบค้น 17 มกราคม 2565, จาก https://activity.mahidol.ac.th/wp-content/uploads/2024/documents/2024_AT_manual.pdf.

Activity Transcript. (2560). ประกาศมหาวิทยาลัยมหิดล เรื่อง กำหนดให้นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตรของนักศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล พุทธศักราช 2560. สืบค้น 17 มกราคม 2565, จาก https://activity.mahidol.ac.th/.

Activity Transcript. (2562). ประกาศมหาวิทยาลัยมหิดล เรื่อง กำหนดให้นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตรของนักศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล พุทธศักราช 2562. สืบค้น 17 มกราคม 2565, จาก https://activity.mahidol.ac.th/.

Activity Transcript. (2564). ประกาศมหาวิทยาลัยมหิดล เรื่อง กำหนดให้นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตรของนักศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล พุทธศักราช 2564. สืบค้น 17 มกราคม 2565, จาก https://activity.mahidol.ac.th/.

Likert, R. (1932). A Technique for the Measurement of Attitudes. Archives of Psychology, 140, 1–55.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-12-20

How to Cite

ลีพีรวิทิต ธ. ., & กุลฉันท์วิทย์ ป. . (2024). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความพึงพอใจในการเข้าใช้งานระบบบันทึกกิจกรรมเสริมหลักสูตรของนักศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล. Trends of Humanities and Social Sciences Research, 12(2), 243–263. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/Humanties-up/article/view/280987