การศึกษาสาเหตุและแนวทางการแก้ไขปัญหา การออกกลางคันของนักศึกษาระดับปริญญาตรี กลุ่มสำนักวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

ผู้แต่ง

  • พีระศักดิ์ วงศ์อภิชาติ ศูนย์บริการการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี จังหวัดนครราชสีมา 30000
  • อภิญญา ลิ้มสุวัฒน์ ศูนย์บริการการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี จังหวัดนครราชสีมา 30000
  • ศิริรัฐ คเชนทร์พงศ์ ศูนย์บริการการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี จังหวัดนครราชสีมา 30000

คำสำคัญ:

ออกกลางคัน, แนวทางการแก้ไขปัญหา , สาเหตุ

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสาเหตุและแนวทางการแก้ไขปัญหาการออกกลางคันของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ในกลุ่มสำนักวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี โดยกลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยนักศึกษารอพินิจที่มีเกรดเฉลี่ยต่ำกว่า 1.80 จำนวน 14 คน นักศึกษาปกติทั่วไปที่มีเกรดเฉลี่ยมากกว่า 1.80 จำนวน 42 คน และอาจารย์ประจำสำนักวิชาจำนวน 24 คน วิธีการวิจัยใช้การสัมภาษณ์เชิงลึกเพื่อนำข้อมูลมาจัดหมวดหมู่และวิเคราะห์โดยการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่า สาเหตุหลักของการออกกลางคันเกิดจากตัวนักศึกษาเอง ได้แก่ การขาดความตั้งใจเรียน และปัญหาส่วนตัว ปัจจัยรองคือปัญหาด้านครอบครัว เช่น การสนับสนุนทางการเงินไม่เพียงพอ หรือการถูกบังคับให้เรียนในสาขาที่ไม่ชอบ รวมถึงปัจจัยด้านการเรียนการสอนที่ทำให้เนื้อหาบางวิชาไม่น่าสนใจหรืออาจารย์สอนไม่เข้าใจ นอกจากนี้ยังพบว่าผลการสัมภาษณ์นักศึกษาปกติทั่วไป พบว่า นักศึกษาที่มีความเสี่ยงออกกลางคันมีสาเหตุหลักมาจากตัวนักศึกษาเอง ครอบครัว และการเรียนการสอนของอาจารย์ ในขณะที่อาจารย์ระบุว่าปัญหาหลักเกิดจากตัวนักศึกษา ครอบครัว และระบบของมหาวิทยาลัย เช่น ระบบการเรียน 3 ภาค และการขาดบุคลากรในการดูแลนักศึกษา แนวทางการแก้ปัญหาที่เสนอ ได้แก่ การพัฒนาระบบติดตามนักศึกษา การให้ความช่วยเหลือเฉพาะกลุ่ม การลดขนาดห้องเรียน การส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างนักศึกษากับอาจารย์ รวมถึงการปรับปรุงวิธีการสอนและการคัดเลือกนักศึกษาให้ได้คุณภาพมากขึ้น

References

ดุษฎี โยเหลา. (2556). การสุ่มตัวอย่างหรือการเลือกตัวอย่าง (SAMPLING). จาก http//www.phd.ru.ac.th/newszian/files/20130919_135906การเลือกกลุ่มตัวอย่าง.pdf.

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี. (2560). ข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ว่าด้วยการศึกษาขั้นปริญญาตรี พ.ศ. 2561. นครราชสีมา: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี. (2561). รายงานประจำปี 2561 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี. นครราชสีมา: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.

ยุพิน พิพิธกุล. (2527). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนิสิตที่ใช้ และไม่ใช้ชุดการสอน สำหรับวิชาพฤติกรรมการสอนคณิตศาสตร์ (รายงานการวิจัย). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Adelman, C. (2006). The toolbox revisited Paths to degree completion from high school through college. U.S.: Department of Education.

Astin, A. W. (1984). Student involvement A developmental theory for higher education. Journal of College Student Personnel, 25(4), 297-308.

Bean, J. P., & Metzner, B. S. (1985). A conceptual model of nontraditional undergraduate student attrition. Review of Educational Research, 55(4), 485-540.

Bloom, B.S. (1976). Human Characteristic and School Learning. New York: McGraw–Hill.

Cabrera, A. F., Nora, A., & Castaneda, M. B. (1992). The role of finances in the persistence process A structural model. Research in Higher Education, 33(5), 571-593.

Cabrera, N. L., Miner, D. D., & Milem, J. F. (2013). Can a summer bridge program impact first-year persistence and performance? A case study of the New Start Summer Program. Research in Higher Education, 54(5), 481-498.

Carroll, J.B. (1989). The Carroll Model A 25-year Retrospective and Prospective View. Educational Researcher, 18(1), 26–31.

Carter V. Good, (1959). Attitude. Retrived Oterber 25, 2009, from http//www.novabizz.Ace/Attitude.html.

Carter V. Good. (1973). Dictionary of Education. New York: McGraw-Hill Book.

Crisp, G., & Cruz, I. (2009). Mentoring college students A critical review of the literature between 1990 and 2007. Research in Higher Education, 50(6), 525-545.

Cruze, Wendel W. (1974). Education Psychology. New York: Ronal Press.

Delen, D. (2010). A comparative analysis of machine learning techniques for student retention management. Decision Support Systems, 49(4), 498-506.

Goldrick-Rab, S. (2018). Paying the price College costs, financial aid, and the betrayal of the American dream. The Review of Higher Education, 42(1), E-7-E-10. DOI https://doi.org/10.1353/rhe.2018.0041.

Johnson, L.J., & LaMontagne, M.J. (1993). Research methods using content analysis to examine the verbal or written communication of stakeholders within early intervention, Journal of Early Intervention, 17(1) 73-79.

Kuh, G. D., Cruce, T. M., Shoup, R., Kinzie, J., & Gonyea, R. M. (2008). Unmasking the effects of student engagement on first-year college grades and persistence. The Journal of Higher Education, 79(5), 540-563.

Kuh, G. D., Kinzie, J., Schuh, J. H., & Whitt, E. J. (2011). Student success in college: Creating conditions that matter. San Francisco, CA: Jossey-Bass.

Linderman, R.H., Merenda, P.F., & Gold, R.Z. (1978). Introduction to Bivariate and Multivariate Analysis. London Scott, Foresman.

Museus, S. D. (2014). The culturally engaging campus environments (CECE) model A new theory of success among racially diverse college student populations. Springer Nature: In Higher education Handbook of theory and research, 189-227.

Pascarella, T. and Terenzin, P. (2005). How college affects students A third decade of research (2nd ed.) San Francisco: Jossey-Bass.

Porter, S. R., and Umbach, P. D. (2006). College major choice an analysis of person–environment fit. Research in Higher Education, 47(4), 429-449.

Reason, R. D. (2009). An examination of persistence research through the lens of a comprehensive conceptual framework. Journal of College Student Development, 50(6), 659-682.

Robbins, S. B., Lauver, K., Le, H., Davis, D., Langley, R., & Carlstrom, A. (2004). Do psychosocial and study skill factors predict college outcomes? A meta-analysis. Psychological Bulletin, 130(2), 261-288.

Rokeach, M. (1970). Belief, Attitude and Value A Theory of Organization and Change. San Francisco: Josey-Ban.

Strange, C. C., and Banning, J. H. (2015). Designing for learning: Creating campus environments for student success. Jossey-Bass a Wiley Brand.

Tinto, V. (1975). Dropout from higher education A theoretical synthesis of recent research. Review of Educational Research, 45(1), 89-125.

Tinto, V. (1993). Leaving college: Rethinking the causes and cures of student attrition (2nd ed.). Chicago, IL: University of Chicago Press.

Tinto, V. (2012). Completing college Rethinking institutional action. Chicago: University of Chicago Press.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-12-20

How to Cite

วงศ์อภิชาติ พ. ., ลิ้มสุวัฒน์ อ. ., & คเชนทร์พงศ์ ศ. . (2024). การศึกษาสาเหตุและแนวทางการแก้ไขปัญหา การออกกลางคันของนักศึกษาระดับปริญญาตรี กลุ่มสำนักวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี. Trends of Humanities and Social Sciences Research, 12(2), 172–200. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/Humanties-up/article/view/276833