ภาพสะท้อนชายขอบในเรื่องสั้นรางวัลซีไรต์ พ.ศ. 2551-2560
คำสำคัญ:
ภาพสะท้อน, ชายขอบ, เรื่องสั้น, รางวัลซีไรต์บทคัดย่อ
บทความวิจัยเรื่อง “ภาพสะท้อนชายขอบในเรื่องสั้นรางวัลซีไรต์ พ.ศ. 2551-2560” มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ภาพสะท้อนความเป็นชายขอบในเรื่องสั้นรางวัลซีไรต์ พ.ศ. 2551-2560 จำนวน 4 เล่ม รวม 45 เรื่อง โดยใช้กรอบวาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพากษ์ (Critical Discourse Analysis : CDA) ของนอร์แมน แฟร์เคลาฟ์ (Norman Fairclough) ผลการศึกษาพบภาพสะท้อนความเป็นชายขอบทั้งสิ้น 7 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านสถานภาพและพฤติกรรม 2) ด้านเศรษฐกิจและอาชีพ 3) ด้านสุขภาพและสาธารณสุข 4) ด้านภูมิศาสตร์ 5) ด้านสังคมและวัฒนธรรม 6) ด้านการศึกษา และ 7) ด้านการเมืองการปกครอง
References
จเด็จ กำจรเดช. (2555). แดดเช้าร้อนเกินกว่าจะนั่งจิบกาแฟ. กรุงเทพฯ: เคล็ดไทย.
จิดานันท์ เหลืองเพียรสมุท. (2560). สิงโตนอกคอก (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: แพรว.
ชัยเนตร ชนกคุณ. (2555). ตัวละครชายขอบในวรรณกรรมซีไรต์. (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ชาคริต แก้วทันคำ. (2561). ภาพสะท้อนความเป็นอื่นของคนชายขอบในรวมเรื่องสั้น “บังไพรแห่งซับจำปาและเรื่องอื่น ๆ”. วิวิธวรรณสาร, 2(1), 111-128.
แดนอรัญ แสงทอง. (2557). อสรพิษและเรื่องอื่น ๆ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สามัญชน.
ภัทรขวัญ ทองเถาว์. (2554). ภาพคนชายขอบในวรรณกรรมเยาวชน. (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.
มิ่งมนัสชน จังหาร. (2560). ความเป็นชายขอบและการสร้างความเป็นอื่นของตัวละครในเรื่องสั้นรางวัลนายอินทร์อะวอร์ด. (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
วัชระ สัจจะสารสิน. (2556). เราหลงลืมอะไรบางอย่าง (พิมพ์ครั้งที่ 15). กรุงเทพฯ: นาคร.
วัชรินทร์ แก่นจันทร์ และ กิตติศักดิ์ แก้วตา. (2563). วาทกรรมชายขอบในเรื่องสั้นของมาลาคำจันทร์. วารสารสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 4(3), 29-38.
สุริชัย หวันแก้ว. (2550). คนชายขอบ: จากความคิดสู่ความจริง (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Fairclough, N. (1992). Discourse and social change. Cambridge: Polity Press.

Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 มหาวิทยาลัยพะเยา

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ผู้นิพนธ์ต้องรับผิดชอบข้อความในบทนิพนธ์ของตน มหาวิทยาลัยพะเยาไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยกับบทความที่ตีพิมพ์เสมอไป ผู้สนใจสามารถคัดลอก และนำไปใช้ได้ แต่จะต้องขออนุมัติเจ้าของ และได้รับการอนุมัติเป็นลายลักษณ์อักษรก่อน พร้อมกับมีการอ้างอิงและกล่าวคำขอบคุณให้ถูกต้องด้วย
The authors are themselves responsible for their contents. Signed articles may not always reflect the opinion of University of Phayao. The articles can be reproduced and reprinted, provided that permission is given by the authors and acknowledgement must be given.