การรับรู้อารมณ์ขันจากภาษากำกวมในนิตยสารการ์ตูนไทย

ผู้แต่ง

  • กมลาวดี บุรณวัณณะ สาขาวิชาภาษาศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก 65000
  • อรทัย ชินอัครพงศ์ สาขาวิชาภาษาศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก 65000

คำสำคัญ:

ภาษากำกวม, อารมณ์ขัน, นิตยสารการ์ตูนไทย

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประเภทของภาษากำกวมในนิตยสารการ์ตูนไทย ที่ส่งผลให้ผู้อ่านรับรู้และเกิดอารมณ์ขัน ซึ่งรวบรวมข้อมูลจากนิตยสารการ์ตูนขายหัวเราะ และนิตยสารการ์ตูนฮาจะเกร็ง จำนวน 100 เล่มผลการวิจัยพบว่าประเภทของภาษากำกวมที่ปรากฏในนิตยสารการ์ตูนไทยแบ่งออกเป็น 3 ประเภทหลัก คือ 1) ความกำกวมระดับคำและกลุ่มคำ 2) ความกำกวมระดับไวยากรณ์ และ 3) ความกำกวมระดับประโยคและข้อความ แยกย่อยได้ 17 ประเภท และพบว่าการ์ตูนที่ใช้ภาษากำกวมส่วนใหญ่ยังคงสร้างอารมณ์ขัน ให้แก่ผู้อ่าน โดยการ์ตูนที่ทำให้ผู้อ่านเกิดอารมณ์ขันมากที่สุด คือ การ์ตูนที่ใช้ภาษากำกวมประเภทการใช้คำที่มีความหมายหลายนัยที่เป็นความหมายตรงกับความหมายตรง และภาษากำกวมที่เกิดจากการอ้างอิงเกี่ยวกับบริบทหรือสถานการณ์

References

กาญจนา เจริญเกียรติบวร. (2548). การวิเคราะห์วาทกรรมเรื่องตลกภาษาไทย. (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

การ์ตูน. [นามแฝง]. (2556). นิตยสารการ์ตูนฮาจะเกร็ง, (91), 72.

ชวนฮา. [นามแฝง]. (2557, กรกฎาคม). นิตยสารการ์ตูนฮาจะเกร็ง, (111), 90.

ชวนฮา. [นามแฝง]. (2557, กรกฎาคม). นิตยสารการ์ตูนฮาจะเกร็ง, (112), 66.

นิค. [นามแฝง]. (2555, สิงหาคม). นิตยสารการ์ตูนขายหัวเราะ, 27(1201), 105.

บักอั้น. [นามแฝง]. (2554, พฤษภาคม). นิตยสารการ์ตูนขายหัวเราะ, 26(1134), 78.

ประสิทธิ์ กาพย์กลอน. (2543). ลักษณะประโยคกำกวมในภาษาไทยปัจจุบัน. (รายงานการวิจัย). มหาวิทยาลัยรามคำแหง, กรุงเทพฯ.

เปรี้ยว. [นามแฝง]. (2557, กรกฎาคม). นิตยสารการ์ตูนฮาจะเกร็ง, (112), 67.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2554). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน, 2556.

วรัญญา ยิ่งยงศักดิ์. (2561). การใช้ภาษาในการเสนอภาพสตรีจากนิตยสารบันเทิงไทย. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา, 6(1), 145.

วิภาพร สุขอร่าม และ นิค. (2554, พฤษภาคม). นิตยสารการ์ตูนขายหัวเราะ, 26(1134), 27.

วุฒิ. [นามแฝง]. (2557, ตุลาคม). นิตยสารการ์ตูนขายหัวเราะ, 29(1315), 76.

สัญ อินเลิฟ. [นามแฝง]. (2558, พฤษภาคม). นิตยสารการ์ตูนฮาจะเกร็ง, (131), 51.

สุจิตรา แซ่ลิ่ม. (2549). ความกำกวมอย่างจงใจในปริศนาคำทายของไทย. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

สุรหนุ่ย. [นามแฝง]. (2557, กรกฎาคม). นิตยสารการ์ตูนฮาจะเกร็ง, (111), 37.

สุรหนุ่ย. [นามแฝง]. (2557, ธันวาคม). นิตยสารการ์ตูนฮาจะเกร็ง, (121), 37.

อิ้ว. [นามแฝง]. (2556, ตุลาคม). นิตยสารการ์ตูนฮาจะเกร็ง, (93), 62.

เอ๊ะ. [นามแฝง]. (2558, กุมภาพันธ์). นิตยสารการ์ตูนขายหัวเราะ, 30(1333), 25.

Cartoon 2010. [นามแฝง]. (2553, มีนาคม). นิตยสารการ์ตูนขายหัวเราะ, 25(1074), 100.

Chanon’53. [นามแฝง]. (2556, มีนาคม). นิตยสารการ์ตูนฮาจะเกร็ง, (79), 39.

Conway, D. A. and Munson, R. (2000). Vagueness and Ambiguity. In The elements of reasoning. Belmont, CA: Wadsworth/ Thomson Learning.

darim. [นามแฝง]. (2555, ตุลาคม). นิตยสารการ์ตูนฮาจะเกร็ง, (70), 13.

Dienhart, M. J. (1998). A linguistic look at riddles. Journal of Pragmatics. 95-125.

Hirst, G. (1987). Semantic interpretation and the resolution of ambiguity: studies in natural language processing. Cambridge: Cambridge University Press.

IngFar 2555. [นามแฝง]. (2555, ธันวาคม). นิตยสารการ์ตูนฮาจะเกร็ง, (74), 37.

Pepicello, W. J. and Green T. A.. (1984). The language of riddles. Columbus: Ohio State University Press.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-03-27

How to Cite

บุรณวัณณะ ก., & ชินอัครพงศ์ อ. (2019). การรับรู้อารมณ์ขันจากภาษากำกวมในนิตยสารการ์ตูนไทย. Trends of Humanities and Social Sciences Research, 7(1), 151–172. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/Humanties-up/article/view/206546