การประเมินความต้องการจำเป็นในการจัดการศึกษาสำหรับผู้ต้องขังเรือนจำจังหวัดเลย
คำสำคัญ:
การประเมินความต้องการจำเป็น, การจัดการศึกษา, ผู้ต้องขังเรือนจำจังหวัดเลยบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ประเมินความต้องการจำเป็นและจัดลำดับความต้องการจำเป็นในการจัดการศึกษาสำหรับผู้ต้องขังเรือนจำจังหวัดเลย 2) เปรียบเทียบความต้องการจำเป็นในการจัดการศึกษา จำแนกตามวุฒิการศึกษา และกำหนดโทษ 3) ศึกษาแนวทางการพัฒนาการจัดการศึกษา กลุ่มตัวอย่าง คือ นักโทษเด็ดขาดจำนวน 303 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์เชิงลึก การวิเคราะห์ข้อมูล ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ค่าดัชนีความต้องการจำเป็น และการวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า
- ความต้องการจำเป็นในการจัดการศึกษาที่มีค่า สูงที่สุด คือ ด้านแหล่งเรียนรู้ รองลงมา ด้านหลักสูตรและประเภทการจัดการศึกษา และด้านรูปแบบการจัดการศึกษา เมื่อพิจารณารายละเอียดความต้องการจำเป็นสูงสุด คือ 1) จัดมุมเรียนรู้ภายในห้องสมุด ผ่านสื่อประเภทต่าง ๆ 2) สามารถเข้าศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเองตามเวลากำหนด และ 3) เชิญวิทยากรจากภายนอก
- ผู้ต้องขังที่มีวุฒิการศึกษา และกำหนดโทษต่างกัน มีความต้องการจำเป็นแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยผู้ต้องขังที่มีวุฒิการศึกษาระดับประถมศึกษา และกำหนดโทษต่ำกว่า 2 ปี มีความต้องการจำเป็นมากกว่ากลุ่มอื่น
- แนวทางการพัฒนาการจัดการศึกษา 1) ควรจัดมุมเรียนรู้ภายในห้องสมุด ผ่านสื่อประเภทต่าง ๆ และเชิญวิทยากรภายนอก 2) ควรจัดหลักสูตรตรงตามความต้องการตลาดแรงงาน ทันสมัย หลักสูตรพัฒนาจิตใจ และ 3) ควรจัดรูปการจัดการศึกษาแบบพบกลุ่ม
References
กรมราชทัณฑ์. (2553). การจัดการศึกษาตามอัธยาศัยให้กับผู้ต้องขัง. จากhttp://br.correct.go.th/eduweb/index.php/eduessay/35-eduprisoner/78-attayasai.html.
กอบเกียรติ กสิวิวัฒน์. (2560). คู่มือการจัดการศึกษาสำหรับผู้ต้องขัง. การจัดสัมมนาภายใต้โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อการจัดทำคู่มือการจัดการศึกษาสำหรับผู้ต้องขัง.ประจวบคีรีขันธ์: กรมราชทัณฑ์.
กาญจนา แกแจ่ม. (2553). รูปแบบการใช้แหล่งการเรียนรู้ในการจัดการศึกษาของโรงเรียนบ้านยอดดอยวิทยา อำเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน. (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต). เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.
จะเด็ด ทุมมากรณ์. (2546). การพัฒนาการจัดทำหลักสูตรสำหรับผู้ต้องขัง : กรณีศึกษาเรือนจำกลางอุบลราชธานี (วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต). มหาสารคาม:มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
จำนง อินคา. (2545). การจัดกิจกรรมการฝึกวิชาชีพในเรือนจำและทัณฑสถาน เขต 5 (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต). ฉะเชิงเทรา: มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์.
ชูศรี วงศ์รัตนะ. (2550). เทคนิคการใช้สถิติเพื่อการวิจัย (พิมพ์ครั้งที่ 10). นนทบุรี: สำนักพิมพ์ไทเนรมิตกิจ อินเตอร์ โปรเกรสซิฟ.
ณรงค์ แจ้งใจ. (2542). ศึกษาความรู้และปัญหาในการวัดและประเมินผลการเรียนของอาจารย์ผู้สอนสายอาชีวศึกษา ในเขตการศึกษาที่ 12. (วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการวัดแลประเมินผลการศึกษา). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ตุ๊ จงรักษ์. (2543). กระบวนการวัดและประเมินผลการเรียนในโรงเรียนประถมศึกษา: ศึกษากรณีโรงเรียนปฏิรูปการศึกษา สังกัดสำนักงานการประถมศึกษา จังหวัดหนองคาย. (วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการวัดแลประเมินผลการศึกษา). ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ทวี เหรียญวิไลรัตน์. (2543). ความต้องการเกี่ยวกับการฝึกอาชีพและการประกอบอาชีพของนักโทษเด็ดขาดก่อนปล่อยตัวคุมประพฤติในเรือนจำกลางกำแพงเพชร.(การค้นคว้าการศึกษามหาบัณฑิต สาขาบริหารการศึษา). พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร.
ทวีรัตน์ นาคเนียม (2530) ผลของการฝึกสมาธิที่มีผลต่อการให้เหตุผลเชิงจริยธรรมของผู้ต้องขัง. (วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.
นเรนทร์ คำมา. (2548). ความสำคัญของการเรียนรู้. จาก http://punaoy.blogspot.com/2009/11/blog-post_8617.html.
นิมิตร บุตรทิพย์. (2544). ศึกษาความต้องการการศึกษาของผู้ต้องขังเรือนจำ อำเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา. (วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต). สงขลา: มหาวิทยาลัยทักษิณ.
ปริญญา เผ่าต๊ะใจ. (2557). การจัดการแก้ไขฟื้นฟูผู้กระทำผิด: กรณีศึกษาเรือนจำจังหวัดพะเยา. (วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต). พะเยา: มหาวิทยาลัยพะเยา.
ฝนทอง อินรอด. (2551). การประเมินความต้องการจำเป็นของผู้ปกครองนักเรียนเกี่ยวกับการบริหารจัดการศึกษาของโรงเรียนสตรีวรนาถบางเขน. (วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
เพลินใจ แต้เกษม, วริศรา ศิริสุทธิเดชา, รติรส ทองสุข, นิรันดร์ ไชยชมภู, กอย พรามฉิม, เดโช ทิมธรรม และ อนุวัฒน์ โพธิ์ขาว. (2555). การพัฒนารูปแบบและกระบวนการพัฒนาพฤตินิสัยด้านการฝึกอาชีพผู้ต้องขังของกรมราชทัณฑ์ (รายงานการวิจัย). นนทบุรี: กรมราชทัณฑ์.
ไพฑูรย์ วิเศษศิริ. (2545). ปัญหาและความต้องการของผู้ต้องขังในเรือนจำความมั่นคงสูงสุด. (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
รัชนีกร ทองสุขดี. (2545). เอกสารการประเภทการบรรยายวิชาสารนิเทศเพื่อการสอนสังคมศึกษา ภาควิชามัธยมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
รุ่งโรจน์ โพธิ์ทอง. (2547). การศึกษานอกโรงเรียนสำหรับผู้ต้องขัง กรณีศึกษาในเรือนจำจังหวัดประจวบคีรีขันธ์. (วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.
วรรณนรา บุญยืน. (2537). การศึกษาสาเหตุของความสนใจในการเรียน ของนักศึกษาการศึกษานอกโรงเรียนสายสามัญ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ในทัณฑสถาน
วัยหนุ่ม. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วาลินี วงศ์อุไร. (2551 ). ความคิดเห็นของผู้ต้องขังต่อการจัดการศึกษาและการฝึกวิชาชีพของผู้เรือนจำกลางนครสวรรค์. (วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาตรมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
วินัย ไพรทอง. (2546). ความพึงพอใจต่อการจัดการศึกษาวิชาชีพของผู้ต้องขังในทัณฑสถานวัยหนุ่มกลาง. (วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต วิชาเอกการบริหารการศึกษา). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ศิริพร จิตอารีย์. (2549). การจัดการแหล่งเรียนรู้ของโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ศุภลักษณ์ เธียรเรืองนนท์. (2556). ศึกษาสภาพการจัดการศึกษาตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ของศูนย์การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย อำเภอจุน จังหวัดพะเยา. (สารนิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา). พะเยา: มหาวิทยาลัยพะเยา.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2548). รายงานการศึกษาสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการพัฒนาและส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ของคนไทย สกศ. กรุงเทพฯ : สำนักงานฯ.
สำนักบริหารงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย. (2551). หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. จาก http://www.banpraknfe.com/webboard/index.php/topic,646.msg2915.html#msg2915.
สุมาลี ประเสริฐประศาสน์. (2542). สวัสดิการและการสงเคราะห์ผู้ต้องขัง. กรุงเทพฯ: สำนักพัฒนาพฤตินิสัย กรมราชทัณฑ์.
สุวิมล นาเพีย. (2550). การศึกษาความต้องการของตลาดแรงงานสู่การจัดการศึกษา กรณีศึกษา : จังหวัดศรีสะเกษ (รายงานการวิจัย). ศรีสะเกษ: มหาวิทยาลัยราชภัฎศรีสะเกษ.
สุวิมล ว่องวาณิช. (2550). การวิจัยการประเมินความต้องการจำเป็น. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุวิมล ว่องวาณิช. (2548). การวิจัยการประเมินความต้องการจำเป็น. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อัจฉรา เขตภารา. (2545). รูปแบบการฝึกวิชาชีพผู้ต้องขัง : ศึกษาเฉพาะกรีเรือนจำในเขตกรุงเทพมหานคร. (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต การบริหารงานยุติธรรม).กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาตร์.
อัญชลี ธรรมะวิธีกุล. (2554). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการนิเทศการศึกษา. จาก http://panchalee.wordpress.com/supervision.
อัญชลี จันทรมณี. (2545). ศึกษาสภาพการจัดการเรียนการสอนวิชาชีพในเรือนจำกลางนครปฐม. กรุงเทพฯ: ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ไทย.

Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2021 มหาวิทยาลัยพะเยา

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ผู้นิพนธ์ต้องรับผิดชอบข้อความในบทนิพนธ์ของตน มหาวิทยาลัยพะเยาไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยกับบทความที่ตีพิมพ์เสมอไป ผู้สนใจสามารถคัดลอก และนำไปใช้ได้ แต่จะต้องขออนุมัติเจ้าของ และได้รับการอนุมัติเป็นลายลักษณ์อักษรก่อน พร้อมกับมีการอ้างอิงและกล่าวคำขอบคุณให้ถูกต้องด้วย
The authors are themselves responsible for their contents. Signed articles may not always reflect the opinion of University of Phayao. The articles can be reproduced and reprinted, provided that permission is given by the authors and acknowledgement must be given.