กระบวนการเรียนรู้อัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์มอญ: กรณีศึกษาบ้านวังกะ ตำบลหนองลู อำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี

ผู้แต่ง

  • นพรัตน์ ไชยชนะ สาขาวิชาการพัฒนาชุมชน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี
  • อภิชาติ ใจอารีย์ ภาควิชาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชน คณะศึกษาศาสตร์และพัฒนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จังหวัดนครปฐม 73140
  • ประสงค์ ตันพิชัย ภาควิชาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชน คณะศึกษาศาสตร์และพัฒนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

คำสำคัญ:

อัตลักษณ์ชาติพันธุ์, กระบวนการเรียนรู้, พรมแดนชาติพันธุ์

บทคัดย่อ

กลุ่มชาติพันธุ์มอญบ้านวังกะอพยพเข้าสู่ประเทศไทยในปี พ.ศ. 2491 ด้วยเหตุผลทางการเมืองเป็นหลักอัตลักษณ์ชาติพันธุ์มอญเกิดจากการปฏิสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง สร้างพรมแดนชาติพันธุ์ ด้วยการเลือกสรรความแตกต่างทางวัฒนธรรมมาเป็นสัญลักษณ์โดยการสร้างอดีตขึ้นมารับใช้ปัจจุบัน ได้แก่ อัตลักษณ์ด้านภาษา อัตลักษณ์ด้านที่อยู่อาศัย อัตลักษณ์ด้านการแต่งกาย อัตลักษณ์ด้านอาหาร อัตลักษณ์ด้านพิธีกรรมความเชื่อ อัตลักษณ์ด้านประเพณี อัตลักษณ์ด้านดนตรีและการรำ กระบวนการเรียนรู้อัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์มอญเกิดขึ้นในลักษณะของวัฒนธรรมชุมชน ก่อตัวขึ้นจากการต่อสู้เพื่อให้ทุกคนมีอยู่มีกิน เอาชีวิตรอด และความสัมพันธ์ร่วมกันในชุมชน เกิดวัฒนธรรมการผลิต การสร้างระบบคุณค่าพร้อมกับพิธีกรรมต่าง ๆ นำไปสู่การจัดระบบความสัมพันธ์ที่ทำให้สมาชิกในชุมชนอยู่ร่วมกันอย่างสันติ แสดงถึงพหุอัตลักษณ์ของกลุ่มชาติพันธุ์มอญในชุมชนบ้านวังกะว่า “ตัวเป็นไทย
ใจเป็นมอญ”

Author Biography

นพรัตน์ ไชยชนะ, สาขาวิชาการพัฒนาชุมชน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี

สาขาวิชาการพัฒนาชุมชน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี

References

เจือจันทร์ วงศ์พลกานันท์. (2549). กระบวนการสร้างอัตลักษณ์ของสตรีชายแดนกลุ่มชาติพันธุ์มอญและปฏิสัมพันธ์กับกลุ่มพม่าและไทย: กรณีศึกษาชุมชนมอญในจังหวัดกาญจนบุรี. สาขาวิชาสหวิทยาการ ดุษฏีนิพนธ์ปรัชญาดุษฏีบันฑิต. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

นิยพรรณ วรรณศิริ. (2550). มานุษยวิทยาสังคมและวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: ธนาเพรส จำกัด.

ปาริชาติ วลัยเสถียร และคณะ. (2552). กระบวนการและเทคนิคการทำงานของนักพัฒนา. กรุงเทพฯ: สำนักงานสนับสนุนการวิจัย (สกว.).

วสันต์ ปัญญาแก้ว. (2555). ลื้อข้ามแดน การเดินทางของคนหนุ่มสาวชาวลื้อเมืองยอง รัฐฉาน ประเทศพม่า. เชียงใหม่: วนิดาการพิมพ์.

วันดี สันติวุฒิเมธี. (2545). กระบวนการสร้างอัตลักษณ์ของชาวไทยใหญ่ชายแดนไทย – พม่า กรณีศึกษาหมู่บ้านเปียงหลวง อำเภอเวียงแหง จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์มานุษยวิทยามหาบัณฑิต สาขามานุษยวิทยา มหาวิทยาธรรมศาสตร์.

สุเอ็ด คชเสนี. (2527). วัฒนธรรมประเพณีมอญ. เมืองโบราณ. 10 (3). 50 – 63.

สุจริตลักษณ์ ดีผดุง และประภาศรี ดำสะอาด. (2550). ที่นี้บ้านวังกะ ฝั่งวัดวังก์ฯ สังขละบุรี. วารสารภาษาและวัฒนธรรม. 26 (1-2) 49 – 74.

Avery, M., B. Auvine, B. Streibel, and L. Weiss. (1981). Building United Judgment: A handbook for consensus decision making. Madison: The Center for Conflict Resolution.Alsoavailableat:http://www.archive.org/details/BuildingUnitedJudgmentAHandbookForConsensusDecisionMaking

Geertz, C. (1973). The integrative revolution: Primordial sentiment and civil politics in the state, in the interpretation of cultures: selected essays, New York: Books.

Winchakul, T. (1999). Siam Mapped: A History of the Geo-Body of a Nation. Honolulu: University of Hawaii Press.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-03-01

How to Cite

ไชยชนะ น., ใจอารีย์ อ., & ตันพิชัย ป. (2021). กระบวนการเรียนรู้อัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์มอญ: กรณีศึกษาบ้านวังกะ ตำบลหนองลู อำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี. Trends of Humanities and Social Sciences Research, 9(1), 256–278. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/Humanties-up/article/view/246871