มุมมองเกี่ยวกับแนวทางการทำวิจัยด้านสังคมศาสตร์โดยใช้แบบจำลองสมการโครงสร้าง

ผู้แต่ง

  • สหนนท์ ตั้งเบญจสิริกุล บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • สรรค์ชัย เตียวประเสริฐกุล คณะบริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

คำสำคัญ:

วิจัยด้านสังคมศาสตร์, แบบจำลองสมการโครงสร้าง

บทคัดย่อ

การใช้เทคนิคแบบจำลองสมการโครงสร้างทดสอบสมมติฐานกับข้อมูลเชิงประจักษ์เพื่อยืนยันแนวคิดทฤษฎี มีส่วนช่วยยกระดับองค์ความรู้ด้านสังคมศาสตร์อย่างมีนัยสำคัญ ทั้งนี้ ผู้เชี่ยวชาญด้านแบบจำลองสมการโครงสร้างได้นำเสนอกระบวนการวิจัยทั้งแบบปกติ (Direct Approach) และแบบ 2 ขั้นตอน (Two-Step Approach) เพื่อเป็นทางเลือกให้ผู้วิจัยนำไปใช้และช่วยลดปัญหาในระหว่างทำวิจัย จากการทบทวนบทความวิจัยของประเทศไทยที่ใช้เทคนิคแบบจำลองสมการโครงสร้าง ผู้เขียนได้ตั้งข้อสังเกตุว่า งานวิจัยบางส่วนไม่ได้แสดงผลการวิเคราะห์ความสอดคล้องอย่างเหมาะสมครบถ้วน และ มีการใช้เทคนิคการทำวิจัยซึ่งอาจไม่เป็นไปตามหลักการวิจัยเชิงอนุมาน ดังนั้น ผู้เขียนได้ให้ข้อเสนอแนะสำหรับการวิจัยในอนาคตครอบคลุมเรื่อง การพัฒนากรอบแนวคิด การกำหนดสมมติฐาน เทคนิคการทำวิจัย รวมถึงการเลือกบริบทการวิจัยที่ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม

References

กฤษณะ กลิ่นจรุง, จิตกร บัวกล่ำ, ธนกานต์ ซ่อนกลิ่น, กฤษดา เงางาม และ จิระพงค์ เรืองกุน. (2561). การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันเกณฑ์การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือสมาร์ทโฟนของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีสมุทรปราการ. รายงานสืบเนื่องการประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติครั้งที่ 9 วันที่ 20-21 กรกฎาคม 2561, 649-660.

กุลธิดา กุลประฑีปัญญา,จําลอง วงษ์ประเสริฐ และ อวยพร เรืองตระกูล. (2558). โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของคุณภาพการศึกษาพยาบาลไทย: การสังเคราะห์งานวิจัยด้วยการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้างอภิมาน. วารสารวิชาการสาธารณสุข, 24(2), 238-246.

จุฑาทิพย์ ทองเดชาสามารถ, สงวน วงษ์ชวลิตกุล และ มารุต โคตรพันธ์. (2561). การวิเคราะห์แบบจำลองสมการโครงสร้างการใช้พลังงานเชื้อเพลิงชีวภาพในรถจักรยานยนต์ในจังหวัดนครราชสีมา: แก๊สโซฮอล์ 91 และแก๊สโซฮอล์ E20. วารสารวิชาการสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย, 7(2), 23-42.

ชนิษฐ์นาฏ จุรีมาศ และ บุญชม ศรีสะอาด. (2553). การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันขวัญกำลังใจในการปฏิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลชุมชนในจังหวัดร้อยเอ็ด. วารสารการพยาบาลและการศึกษา, 3(2), 73-85.

ชัยนิกร กุลวงษ์, สงวน วงษ์ชวลิตกุล และ มารุต โคตรพันธ์. (2561). แบบจำลองสมการโครงสร้างเพื่อหาปัจจัยที่ส่งผลต่อการใช้แก๊สโซฮอล์ 95 และ E85ของรถยนต์ส่วนบุคคล. วารสารวิชาการสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย, 7(2), 53-70.

ฐากูร อนุสรณ์พาณิชกุล, ภิญญาพัชญ์ นาคภิบาล และ วงศ์ธีรา สุวรรณิน. (2561). รูปแบบวิสาหกิจชุมชนที่ประสบความสำเร็จในประเทศไทย. วารสารราชภัฏเพชรบูรณ์สาร, 20(1), 8-17.

ณัฐพล ขันธไชย. (2562). บทวิจารณ์บทความ (Article review): Bagozzi, Richard P. (2010). Structural Equation Models Are Modeling Tools WithMany Ambiguities: Comments Acknowledging the Need for Caution and Humility in Their Use. Journal of Consumer Psychology 20(210) 208-214. วารสารเกษมบัณฑิต, 20(ฉบับพิเศษ), 150-153.

ดาริกา ปิตุรงคพิทักษ์, มานพ ชูนิล และ ศจีมาจ ณ วิเชียร.(2560). การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันของโมเดลทรัพยากรในงานของพนักงานกลุ่มโรงงานอุตสาหกรรมเหล็ก. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี, 11(1), 7-22.

ธงชัย ศรีวรรธนะ (2560).โมเดลสมการโครงสร้างปัจจัยความสอดคล้องทางภาพลักษณ์กลยุทธ์การตลาดเชิงเนื้อหาที่มีลูกค้าเป็นศูนย์กลาง และพฤติกรรมความภักดีต่อตราสินค้าของผู้ติดตามเฟสบุคธนาคารไทยชั้นนำ. วารสารสมาคมนักวิจัย, 22(1), 256-266.

ธิตินันธุ์ ชาญโกศล. (2559). การวิเคราะห์ปัจจัยและพัฒนาองค์ประกอบการบริการขนส่งทางอากาศด้านความเสี่ยงของการบริการในธุรกิจสายการบิน. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 8(3), 78-88.

นวพร ประสมทอง, ณัฐเชษฐ์ พูลเจริญ, พยอม วงศ์สารศรี และ กังวาน ยอดวิศิษฎ์ศักดิ์. (2557). โมเดลสมการโครงสร้าง ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการจัดการความรู้ของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) กลุ่มอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่มในประเทศไทย. วารสารบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และสื่อสาร, 9(1), 113-126.

นฤมล ธนการพาณิช. (2556). โมเดลเชิงสาเหตุความมีวินัยในตนเอง: การวิเคราะห์เปรียบเทียบระหว่าง SEM และ MRA. วารสารวิธีวิทยาการวิจัย, 26(3), 213-241.

นฤมล ธนการพาณิช. (2015). การพัฒนาและตรวจสอบความตรงของโมเดลเชิงสาเหตุสองทางแบบมีตัวแปรส่งผ่านของศักยภาพด้านพหุวัฒนธรรมของนักศึกษา: การเปรียบเทียบ SEM แบบมีและไม่มีตัวแปรแฝง. SDU Research Journal, 11(1), 53-74.

บริบูรณ์ ศรีมาชัย, นำชัย ศุภฤกษ์ชัยสกุล และ นาฏสุดา เชมนะสิริ. (2557). แบบจำลองสมการโครงสร้างปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการมีส่วนร่วมของผู้สูงอายุในกิจกรรมชุมชนเขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร. วารสารสมาคมนักวิจัย, 19(1), 146-158.

ประสงค์ ต่อโชติ, พัชรี จันทร์เพ็ง และ ภัทราวดี มากมี. (2555). ปัจจัยเชิงสาเหตุพหุระดับที่ส่งผลต่อการนำผลการประเมินไปใช้. วารสารศึกษาศาสตร์, 35(2), 48-59.

พรรณี ลีกิจวัฒนะ. (2553). การพัฒนาองค์ประกอบของสมรรถภาพครูเทคโนโลยีสารสนเทศระดับมัธยมศึกษาตอนต้น. วารสารวิจัย มข, 15(11), 1101-1114.

พศกร ผ่องเนตรพานิช และ กฤษณา วิสมิตะนันทน์. (2016). ปัจจัยที่มีผลต่อความตั้งใจซื้อบริการฟังเพลงออนไลน์ของผู้ใช้สมาร์ทโฟนในประเทศไทย. BU Academic Review, 15(2), 69-84.

พิเชษฐ์ มุสิกะโปดก. (2559). รูปแบบความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงสาเหตุของปัจจัยที่มีผลต่อการดำ เนินงานของโรงแรม 5 ดาวในประเทศไทย. วารสารวิชาการบริหารธุรกิจ, 5(2), 134-145.

พูลพงศ์ สุขสว่าง. (2557). หลักการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้าง. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์, 6(2), 136-145.

เยาวภา ปฐมศิริกุล. (2554). แบบจำลองปัจจัยความสำเร็จการจัดการธุรกิจบริการสุขภาพของโรงพยาบาลเอกชนในประเทศไทย. วารสารบริหารธุรกิจ, 30(134), 14-35.

รัชนู ทองทั่ว, ธิดาพร ศุภภากร, จุฑาภรณ์ สินสมบูรณ์ทอง และ ประสิทธิ์ พยัคฆพงษ์. (2560). การวิเคราะห์ตัวแบบสมการโครงสร้างของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพัฒนาการด้านการอ่านของเด็กผ่านหนังสือปฐมวัย. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 25(5), 751-765.

รุ่งโรจน์ สงสระบุญ. (2559). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการดำเนินงานของโรงพยาบาลเอกชนในประเทศไทย.วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยธนบุรี, 10(22), 80-88.

วรางคณา โสมะนันทน์, ดลดาว ปูรณานนท์, ไพรัตน์ วงษ์นาม และ ชุติมา สุรเศรษฐ. (2559). การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันของคุณลักษณะนิสิตตามหลักไตรสิกขา. สุทธิปริทัศน์, 30(94), 168-179.

สหนนท์ ตั้งเบญจสิริกุล. (2553). การศึกษามิติของความพึงพอใจของลูกค้าที่ใช้บริการบัตรเครดิตในกรุงเทพมหานครช่วงปี 2551. วารสารเซนต์จอห์น, 13(1), 1-16.

สุเมษย์ หนกหลัง, สันติ ศรีสวนแตง และ ประสงค์ ตันพิชัย. (2558). การวิเคราะห์โมเดลองค์ประกอบเชิงยืนยันของความสามารถในการเผชิญการฟันฝ่าอุปสรรคของนักศึกษาครูหลักสูตร 5 ปี ชั้นปีที่ 3มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่, 7(1), 109-125.

อนุวัฒน์ ภักดี และ ศิลปพร ศรีจั่นเพชร. (2561).โมเดลสมการโครงสร้างคุณลักษณะคณะกรรมการและผลการดําเนินงานของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย.วารสารวิชาชีพบัญชี, 14(41), 25-38.

อนุวัต สงสม. (2014). แบบจําลองสมการโครงสร้างการจัดการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม โดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. WMS Journal of Management, 3(2), 51-56.

Anderson, J.C. and Gerbing, D.W. (1988). Structural Equation Modeling in Practice: A Review and Recommended Two-Step Approach. Psychological Bulletin, 103(3), 411-423.

Bagozzi, R.P. (1981). Evaluating Structural Equation Models with Unobservable Variables and Measurement Error: A Comment. Journal of Marketing Research, 18(3), 375-381.

Bearden, W.O. and Netemeyer, R.G. (eds) (1999). Handbook of Marketing Scales: Multi Item Measures for Marketing and Consumer Behavior Research. London: SAGE Publications.

Bentler, P.M. and Chou, C.P. (1987). Practical Issues in Structural Modeling. Sociological Methods and Research, 16(1), 78-117.

Bollen, K.A. (1989). Structural Equations with Latent Variables. New York: John Wiley & Sons.

Byrne, B.M. (1998). Structural Equation Modeling with LISREL, PRELIS, and SIMPLIS: Basic Concepts, Applications, and Programming. New Jersey: Lawrence Erlbaum Associates Publishers.

Byrne, B.M. (2016). Structural Equation Modeling with AMOS: Basic Concepts, Applications, and Programming. New York: Routledge.

Driver, C.C., Oud, J.H.L. and Voelkle, M.C. (2017). Continuous Time Structural Equation Modeling with R Package ctsem. Journal of Statistical Software, 77(5), 1-33.

Hamaker, E.L., Asparouhov, T., Brose, A., Schmiedek, F. and Muthén, B. (2018). At the Frontiers of Modeling Intensive Longitudinal Data: Dynamic Structural Equation Models for the Affective Measurements from the COGITO Study. Multivariate Behavioral Research, 53(6), 820-841.

Hermida, R. (2015). The problem of allowing correlated errors in structural equation modeling: concerns and considerations. Computational Methods in Social Sciences, 3(1), 5-17.

Hoyle, R.H. (eds.). (2012). Handbook of Structural Equation Modeling. New York: The Guilford Press.

Hu, L. and Bentler, P.M. (1999). Cut-off Criteria for Fit Indexes in Covariance Structure Analysis: Conventional Criteria Versus New Alternatives. Structural Equation Modeling, 6(6), 1-55.

Jöreskog, K. and Sörbom, D. (2001). LISREL 8: User’s Reference Guide. Illinois: Scientific Software International.

Kline, R.B. (2016). Principles and Practices of Structural Equation Modeling. New York: The Guilford Press.

Little, T.D. (2013). Longitudinal Structural Equation Modeling. New York: The Guilford Press.

MacCallum, R.C., Roznowski, M., and Necowitz, L.B. (1992). Model Modifications in Covariance Structure Analysis: The Problem of Capitalization on Chance. Psychological Bulletin, 111(3), 490-504.

Magnusson Hanson L.L., Madsen I.E.H., Rugulies R., Peristera P., Westerlund H. and Descatha A. (2017) Temporal relationships between job strain and low-back pain. Scandinavian Journal Work Environment and Health, 43(5), 396-404.

Muthen, B. (1983). Latent Variable Structural Equation Modeling with Categorical Data. Journal of Econometrics, 22(1-2), 43-65

Rivas, R.M., Sauer, P.L., Glynn, J.G., and Miller, T.E. (2007). Persist/Dropout Differences in Pre-matriculation Attitudes of Freshman towards College Attrition: A Longitudinal Multiple Group Structural Equations Model. College Teaching Methods & Styles Journal, 3(3), 55-68.

Schumacker, R.E. and Lomax, R.G. (2010). A Beginner’s Guide to Structural Equation Modeling. New York: Routledge, Taylor & Francis Group.

Solimun. (2014). A Study on the Correlation Measurement Errors in Structural Equation Modeling (SEM) Analysis. Applied Mathematical Sciences, 8(147), 7301-7309.

Steenkamp, J-B., E.M. and van Trijp, H.C.M. (1991). The Use of LISREL in Validating Marketing Constructs. International Journal of Research in Marketing, 8(4), 283-299.

Tungbenchasirikul, S. (2005). Market Orientation, Strategic Marketing Conduct, and Marketing Performance: Evidence of UK Companies. (Unpublished PhD. Thesis. Manchester Business School). The University of Manchester.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-03-01

How to Cite

ตั้งเบญจสิริกุล ส., & เตียวประเสริฐกุล ส. (2021). มุมมองเกี่ยวกับแนวทางการทำวิจัยด้านสังคมศาสตร์โดยใช้แบบจำลองสมการโครงสร้าง . Trends of Humanities and Social Sciences Research, 9(2), 171–198. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/Humanties-up/article/view/242680