สภาพปัญหาและความคาดหวังในการใช้สื่อเพื่อส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุในจังหวัดพะเยา

ผู้แต่ง

  • ณัฏฐา นันทตันติ Faculty of Business Administration and Communication Arts, University of Phayao, Phayao province 56000
  • นิธิตา นันทตันติ คณะบริหารธุรกิจและนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา จังหวัดพะเยา 56000

คำสำคัญ:

สภาพปัญหาและความคาดหวัง, การสื่อสารสุขาพ, ผู้สูงอายุ

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาและความคาดหวังจากการเปิดรับสื่อ เพื่อส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุในจังหวัดพะเยา โดยเป็นการวิจัยเชิงปริมาณและคุณภาพ โดยผู้วิจัยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงผสม (Mixed Methods Research) โดยนำวิธีเชิงปริมาณ (Quantitative Research) และเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) มาใช้ในการวิจัย โดยการจัดทำแบบสอบถามผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในตำบลหย่วน อ.เชียงคำ จ.พะเยา จำนวน 400 ชุด และการประชุมกลุ่มผู้สูงอายุ (Focus Group) จำนวน 50 คน

ผลการศึกษาพบว่าสภาพปัญหาในการสื่อสารเพื่อส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุในจังหวัดพะเยาเกิดจากข้อมูลข่าวสารมีไม่เพียงพอ ข้อมูลข่าวสารไม่ตรงกับความต้องการ และขาดการมีส่วนร่วมของผู้สูงอายุ

ในประเด็นด้านความคาดหวังต่อการสื่อสารเพื่อส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุในจังหวัดพะเยาพบว่าผู้สูงอายุมีความคาดหวังที่จะได้รับข้อมูลข่าวสารที่ตรงกับความต้องการ สามารถใช้เป็นแนวทางในการรักษาและป้องกันโรคโดยผ่านกระบวนการการผลิตสื่อที่ผู้สูงอายุเข้าไปมีส่วนร่วมได้

References

กาญจนา แก้วเทพ. (2546). การวิเคราะห์สื่อแนวคิดและเทคนิค พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ไฮเออร์เพรส.

กาญจนา แก้วเทพ, เธียรชัย อิศรเดช และสุชาดา พงศ์กิตติวิบูลย์ (2549). ปฐมบทแห่งองค์ความรู้เรื่องสื่อพื้นบ้านสื่อสารสุข. นนทบุรี: โครงการสื่อพื้นบ้านสื่อสารสุข (สพส.).

กาญจนา แก้วเทพ. (2548). ปัจจัยในการสื่อสาร. เอกสารประกอบการสินชุดวิชาทฤษฎีและพฤติกรรมการสื่อสาร สาขาวิชานิเทศศาสตร์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

กาญจนา แก้วเทพ และคณะ. (2549). ยึดหลักปักแน่นกับงานสื่อพื้นบ้านสื่อสารสุขภาวะ. กรุงเทพฯ: โครงการสื่อพื้นบ้านสื่อสารสุข (สพส.).

กาญจนา แก้วเทพ และคณะ. (2549). สื่อพื้นบ้าน ขานรับงานสุขภาพ. กรุงเทพฯ: โครงการสื่อพื้นบ้านสื่อสารสุข (สพส.).

กาญจนา แก้วเทพ และคณะ. (2549). สื่อพื้นบ้านแข็งแก่ง สุขภาวะเข้มแข็ง. กรุงเทพฯ: โครงการสื่อพื้นบ้านสื่อสารสุข (สพส.).

กาญจนา แก้วเทพ และคณะ. (2543). สื่อเพื่อชุมชน: ประมวลองค์ความรู้. กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

กำจร หลุยยะพงศ์. (2552). อัตลักษณ์และความสามารถทางการสื่อสารของแกนนำชมรมผู้สูงอายุ ต.โพธิ์ไทรงาท จ.พิจิตร ในการทำกิจกรรมเพื่อพัฒนาตนเองและชุมชน. วารสารนิเทศศาสตร์ มสธ, 1(1).

จุมพล รอดคำดี. (2532). สื่อมวลชนเพื่อการพัฒนา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ธันยพร ธนารุณ. (2556). การออกแบบสื่อผสมเพื่อการเรียนรู้โรคเบาหวานในผู้ป่วยวัยชรา. ศิลปะมหาบัณฑิต (ศศ.ม), มหาวิทยาลัยศิลปากร.

นิษฐา หรุ่นเกษม. (2549). การสื่อสารกับปฏิบัติการสร้างภาพตัวแทนผ่านสื่อพิพิธภัณฑสถานในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

บัวผิน โตทรัพย์. (2550). การใช้ประโยชน์และความพึงพอใจของผู้ฟังที่มีต่อรายการวิทยุชุมชนชมรมเครดิตยูเนียนภาคใต้ (เครือข่ายจังหวัดสุราษฎ์ธานี). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ.

ปาริชาติ สถาปิตานนท์. (2545). ระเบียบวิธีวิจัยการสื่อสาร. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ปิยะฉัตร ปาลานุสรณ์. (2549). ความสามารถด้านการสื่อสารสุขภาวะของอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่บ้าน (อสม.) ดีเด่นระดับชาติ จังหวัดอำนาจเจริญ. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

พีระ จิระโสภณ และคณะ. (2547). เอกสารการสอนชุดวิชา 15232 ทฤษฎีและพฤติกรรมการสื่อสาร. มหาวิทยาลัยสุโทัยธรรมาธิราช, นนทบุรี.

มนูญ พลายชุม. (2553). การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุที่มีภาวะไขมันในเลือดสูงโดยการมีส่วนร่วมของอาสาสมัครเยาวชนตำบลเขาพระบาท อำเภอเชียรใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช. วิทยานิพนธ์สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (ส.ม.).มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์, นครศรีธรรมราช.

รัตนวดี เศรษฐจิตร. (2550). กลยุทธ์การสื่อสารในการใช้และขยายผลสื่อของเล่น-การละเล่นพื้นบ้าน สู่การพัฒนาสุขภาวะเด็กและชุมชนบ้านหนองหล่ม ตำบลศรีบัวบาน อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน. วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตร์มหาบัณฑิต (นศ.ม.). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

สาโรจน์ เทวหสกุลทอง. (2548). พฤติกรรมและรูปแบบการสื่อสารระหว่างบุคคลของผู้สูงอายุในสถานสงเคราะห์คนชรา. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, กรุงเทพฯ.

สิริอร แก้วลาย. (2550). การเปิดรับการใช้ประโยชน์และความพึงพอใจจากการฟังรายการวิทยุชุมชตำบนเขากอบของผู้ฟังในเขตตำบลเขากอบ อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ.

อัญชลี รัชนกุล. (2541). การับรู้ ความคาดหวัง และความพึงพอใจของประชาชนต่อบทบาทของตำรวจชุมชนประจำตำบล. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

อุทัย เสริมศรี. (2553). แบบพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนไทย-ลาว. มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์, จังหวัดสุรินทร์.

Everett M. Rogers & F. Floyd Shoemaker. (1971). Communication of innovations: a cross-cultural approach. 2nd edition. New York: the Free Press.

Jacobson, T. & Kolluri, S. (1999). Participatory Communication as Communication Action. Cresskill. New York: Hampton Press.

White, R. (1994). Participation development communication. New Delhi.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-11-27

How to Cite

นันทตันติ ณ., & นันทตันติ น. (2020). สภาพปัญหาและความคาดหวังในการใช้สื่อเพื่อส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุในจังหวัดพะเยา. Trends of Humanities and Social Sciences Research, 8(2), 176–195. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/Humanties-up/article/view/198916