วิเคราะห์องค์ประกอบสมรรถนะครูในการพัฒนาหลักสูตร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2

ผู้แต่ง

  • นารีรัตน์ เสมสุข ครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
  • ปริยาภรณ์ ตั้งคุณานันต์ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
  • อัคพงศ์ สุขมาตย์ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

คำสำคัญ:

สมรรถนะครู, สมรรถนะครูในการพัฒนาหลักสูตร, องค์ประกอบสมรรถนะครู

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ความตรงเชิงโครงสร้างขององค์ประกอบสมรรถนะครูในการพัฒนาหลักสูตร กับข้อมูลเชิงประจักษ์ กลุ่มตัวอย่าง คือ ข้าราชการครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 จำนวน 385 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าดัชนีความสอดคล้องเท่ากับ 0.80-1.00 และค่าความเที่ยงของแบบสอบถามทั้งฉบับเท่ากับ 0.88 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน

              ผลการวิจัย พบว่า โมเดลมีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยองค์ประกอบสมรรถนะครูในการพัฒนาหลักสูตร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ ซึ่งมีค่าน้ำหนักองค์ประกอบมาตรฐานเรียงลำดับค่าน้ำหนักองค์ประกอบมาตรฐานจากมากไปน้อย ดังนี้ ด้านทักษะที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาหลักสูตร ด้านความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาหลักสูตร และด้านคุณลักษณะที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาหลักสูตรมี โดยมีค่าน้ำหนักองค์ประกอบ 0.95 0.91 และ 0.84 ตามลำดับ ค่าไค-สแควร์ (Chi – Square) = 337.36 ค่าองศาแห่งความเป็นอิสระ(df) = 406 ค่า p-value = 0.99 ค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืน (GFI) = 0.96 ค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืนที่ปรับแก้แล้ว (AGFI) = 0.95

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2552)ก. แนวทางการบริหารจัดการหลักสูตรตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช

กรุงเทพฯ: องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์.

ฉันทนา บุญมาก. (2555). การศึกษาสมรรถนะครูของครูโรงเรียนอนุบาลชลบุรีตามความรับรู้ของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดการศึกษา. วิทยานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

ธานินทร์ เลิศพันธ์. (2552). ความสัมพันธ์ระหว่างการแก้ปัญหาความขัดแย้งของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผล

ของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาขอนแก่น เขต 3. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา

การบริหารการศึกษา. เลย: มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.

ธีระ รุญเจริญ. (2550). ความเป็นมืออาชีพในการจัดและบริหารการศึกษายุคปฏิรูปการศึกษา (พิมพ์ครั้งที่2). กรุงเทพฯ: ข้าวฟ่าง.

ปราโมทย์ จันทร์เรือง. (2552). หลักการและแนวทางการพัฒนาหลักสูตร. ลพบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี.

มยุลา เนตรพนา. (2556). การศึกษาการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ตามความคิดเห็นของข้าราชการครู ในโรงเรียน

สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา.

อุบลราชธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.

มะห์ดี มะดือราแว. (2556). สมรรถนะครูตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพของครูในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามจังหวัด ปัตตานี. วิทยานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาเพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์. สงขลา: มหาวิทยาลัย

ทักษิณ.

มานิตย์ นาคเมือง. (2556). รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะประจำสายงานครูผู้สอน ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. ดุษฎีนิพนธ์

การศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร.

เมฆ มีศิริ. (2551). การศึกษาพฤติกรรมการทำงานกลุ่มและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้หน้าที่พลเมือง

ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครราชสีมา เขต 3 โดยใช้เทคนิคจิกซอว์.

วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน. นครราชสีมา: มหาวิทยาลัยราชภัฏ

นครราชสีมา.

วิชัย วงษ์ใหญ่. 2521. พัฒนาหลักสูตรและการสอน. กรุงเทพฯ: ธเนศวรการพิมพ์.

ศักดิ์สิทธิ์ สีสังข์. (2558). แนวทางการพัฒนาการทำงานเป็นทีม ของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตพื้นที่

อำเภอสามง่าม จังหวัดพิจิตร. วิทยานิพนธ์ รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารจัดการภาครัฐ.

พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.

สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. (2553). คู่มือการกำหนดความรู้ความสามารถ ทักษะและสมรรถนะสำหรับตำแหน่ง.

กรุงเทพฯ: ประชุมช่าง.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2553). แนวทางการบริหารจัดการหลักสูตร ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา

ขั้นพื้นฐาน 2551 (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.

สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา. (2548). มาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560–2579. สืบค้นเมื่อ 25 เมษายน 2563,

จาก http://www.ratchakitcha.soc.go.th

สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2553). แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา

ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.

สำลี อ่อนบัวขาว. (2555). การเปรียบเทียบระดับการมีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาของผู้บริหาร ครูผู้สอน

และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามหาสารคาม. วิทยานิพนธ์

ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม.

David, C.M. (1973). Retrospective Commentary. Harvard Business Review. January-February, 138-139.

Hair, J.F., Black, W.C., Babin, B.J., and Anderson, R.E. (2010). Multivariate data Analysis : A global perspective

(7th ed.). New Jersey: Pearson Education Inc.

Steers, R.M. (1977). Organizational Effectiveness : A Behavioral View. Santa Monica, CA: Goodyear.

Taba, H. (1962). Curriculum development : Theory and practice. New York: Harcout Brace, and world.

Tyler, M.C. (1957). The Literary History of the American Revoltion 1763-1783. New York: Friedrich Ungar.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-08-30

How to Cite

เสมสุข น., ตั้งคุณานันต์ ป., & สุขมาตย์ อ. (2021). วิเคราะห์องค์ประกอบสมรรถนะครูในการพัฒนาหลักสูตร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด, 15(2), 60–69. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/reru/article/view/242387