ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารการขายสมัยใหม่กับความสำเร็จในการดำเนินงานของธุรกิจร้านกาแฟสดระดับพรีเมี่ยมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
คำสำคัญ:
การบริหารการขายสมัยใหม่, ความสำเร็จในการดำเนินงาน, ธุรกิจร้านกาแฟสดระดับพรีเมี่ยมบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารการขายสมัยใหม่กับความสำเร็จ
ในการดำเนินงานของธุรกิจร้านกาแฟสดระดับพรีเมี่ยมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้บริหารธุรกิจร้านกาแฟสดระดับพรีเมี่ยมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จำนวน 107 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การวิเคราะห์สหสัมพันธ์พหุคูณ และการวิเคราะห์ความถดถอยแบบพหุคูณ การวิจัยพบว่า การบริหารการขายสมัยใหม่ ด้านการวางแผน ด้านการกำหนดงบประมาณ และด้านการสรรหาและคัดเลือก มีความสัมพันธ์และผลกระทบเชิงบวกกับความสำเร็จในการดำเนินงาน โดยรวม ดังนั้น ผู้บริหารธุรกิจร้านกาแฟสดระดับพรีเมี่ยม ควรให้ความสำคัญกับการวางแผนกิจกรรมในการขาย โดยผู้บริหารจำเป็นต้องมีการบันทึกรายการบัญชีเพื่อการดำเนินงานของธุรกิจ รวมถึงการรับบุคคลเข้าทำงานให้ตรงกับลักษณะงานที่ต้องการสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพในการดำเนินงานของธุรกิจ และดำเนินธุรกิจด้วยวิธีใหม่ๆที่ดี และเหมาะสมตรงกับเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ขององค์กร
References
กรุงเทพธุรกิจ. (2561). Big Data Analysis คนไทยเสพติดกาแฟดันตลาด “หมื่นล้าน”. สืบค้นเมื่อ 22 พฤษภาคม 2561,
จาก http://www.bangkokbiznews.com/news/detail/799859
กัลยา วาณิชย์บัญชา. (2549). สถิติสำหรับงานวิจัย (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ชูศรี วงศ์รัตนะ. (2553). เทคนิคการใช้สถิติเพื่อการวิจัย (พิมพ์ครั้งที่ 12). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ฐานเศรษฐกิจ. (2556). ดาวค๊อฟฟี่ ขึ้นพรีเมียมประเดิมส่ง "เดอะทีรูม" ชนสตาร์บัคส์. สืบค้นเมื่อ 2 มิถุนายน 2561,
จาก https://www.thanonline.com
ทิฆัมพร โคตรทัศน์. (2553). ความสัมพันธ์ระหว่างประสิทธิภาพการวางแผนทางการเงินกับความสำเร็จในการดำเนินงาน
ของธุรกิจยานยนต์อุปกรณ์ขนส่งและการบำรุงรักษาที่ได้รับการรับรอง ISO 9000 ในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์
บัญชีมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชี. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
นิศากร สรรพเลิศ. (2552). ความสัมพันธ์ระหว่างประสิทธิผลการจัดการทีมขายกับผลการดำเนินงาน ของธุรกิจจำหน่าย
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการตลาด.
มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ประชาชาติธุรกิจ. (2561). กาแฟ 3.8 หมื่นล้านโตสะพรั่ง ซีพีพุ่งทะยาน “แตกแบรนด์” ยึดทุกตลาด. สืบค้นเมื่อ
พฤษภาคม 2561, จาก https://www.prachachat.net/marketing/news-205538
ปณิธิ คูตระกูล. (2561). ความสัมพันธ์ระหว่างประสิทธิผลช่องทางการตลาดกับผลการดำเนินงานของธุรกิจจำหน่าย
วัสดุก่อสร้างในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด, 12(2), 121-133.
มนตรี ศรีวงษ์. (2563). แนวโน้มธุรกิจกาแฟเมืองไทย ปี 2563. สืบค้นเมื่อ 19 พฤษภาคม 2561,
จาก http://www.thaismescenter.com/แนวโน้มธุรกิจกาแฟเมืองไทย-ปี-
/?fbclid=IwAR0DuyA3oXZ4vqhT6GbooYGFKvrJSYGKyj3KunsJzLkDWzOZRzHyToC-RSI
วิรัลวิทย์ พฤฒิยานนท์. (2558). นวัตกรรมการตลาดสำหรับคนยุคใหม่. เอกสารประกอบการสอน สาขาวิชาการตลาด.
กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต.
ศุภลักษณ์ กันยะกาญจน์. (2556). ผลกระทบของประสิทธิภาพการวางแผนการตลาดที่มีต่อศักยภาพการแข่งขันของธุรกิจ
SMEs ในเขตภาคเหนือ. วิทยานิพนธ์ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการตลาด. มหาสารคาม:
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ศูนย์อัจฉริยะเพื่ออุตสาหกรรมอาหาร (2562). ธุรกิจร้านกาแฟในประเทศไทย. สืบค้นเมื่อ 19 พฤษภาคม 2561,
จาก http://fic.nfi.or.th/MarketOverviewDomesticDetail.php?id=207
สมใจ ลักษณะ. (2554). การพัฒนาประสิทธิภาพในการทำงาน. กรุงเทพฯ: สถาบันราชภัฏสวนสุนันทา.
สุวิทย์ นามบุญเรือง. (2553). การบริหารการขาย. เลย: มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.
Aaker, D.A., Kumar, V. and Day, G.S. (2004). Marketing research. New York: John Wiley & Sons.
Black, K. (2006). Business statistics: for contemporary decision making. New York: John Wiley & Sons.
Cochran, W.G. (1953). Sampling Techniques. New York: John Wiley & Sons. Inc.
Nunnally, J.C. and Ira, H.B. (1978). Psychometric theory. New York: McGraw-Hill.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว