การพัฒนาโปรแกรมฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างภาวะผู้นำในศตวรรษที่ 21 สำหรับคณะกรรมการสภานักเรียน

ผู้แต่ง

  • ศุภชัย สุการะกิจ นักศึกษาปริญญาโท สาขาวิจัยและประเมินผลการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
  • ไพศาล วรคำ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
  • อัจฉริยา พรมท้าว คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

คำสำคัญ:

โปรแกรมฝึกอบรม, ภาวะผู้นำในศตวรรษที่ 21, คณะกรรมการสภานักเรียน

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาแนวทางเสริมสร้างภาวะผู้นำในศตวรรษที่ 21 สำหรับคณะกรรมการสภานักเรียน 2) พัฒนาโปรแกรมฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างภาวะผู้นำในศตวรรษที่ 21 สำหรับคณะกรรมการสภานักเรียน 3) ศึกษาผลการใช้โปรแกรมฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างภาวะผู้นำในศตวรรษที่ 21 สำหรับคณะกรรมการสภานักเรียน และ 4) ประเมินความพึงพอใจการใช้โปรแกรมฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างภาวะผู้นำในศตวรรษที่ 21 สำหรับคณะกรรมการสภานักเรียน  กลุ่มเป้าหมายในการทดลองใช้โปรแกรม ได้แก่ คณะกรรมการสภานักเรียน โรงเรียนดินดำวังชัยวิทยา ปีการศึกษา 2560 จำนวนนักเรียน 40 คน มาจากการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือการวิจัย ได้แก่ โปรแกรมฝึกอบรม แบบสังเกตทักษะ แบบประเมินความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ t-test Dependent Sample ผลการวิจัยพบว่า  การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาแนวทางเสริมสร้างภาวะผู้นำในศตวรรษที่ 21 สำหรับคณะกรรมการสภานักเรียน 2) พัฒนาโปรแกรมฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างภาวะผู้นำในศตวรรษที่ 21 สำหรับคณะกรรมการสภานักเรียน 3) ศึกษาผลการใช้โปรแกรมฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างภาวะผู้นำในศตวรรษที่ 21 สำหรับคณะกรรมการสภานักเรียน และ 4) ประเมินความพึงพอใจการใช้โปรแกรมฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างภาวะผู้นำในศตวรรษที่ 21 สำหรับคณะกรรมการสภานักเรียน  กลุ่มเป้าหมายในการทดลองใช้โปรแกรม ได้แก่ คณะกรรมการสภานักเรียน โรงเรียนดินดำวังชัยวิทยา ปีการศึกษา 2560 จำนวนนักเรียน 40 คน มาจากการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือการวิจัย ได้แก่ โปรแกรมฝึกอบรม แบบสังเกตทักษะ แบบประเมินความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ t-test Dependent Sample ผลการวิจัยพบว่า 1) แนวทางเสริมสร้างภาวะผู้นำที่สำคัญ คือ การพัฒนาทักษะด้านความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงาน ด้านความรับผิดชอบในการทำงาน และด้านความมีมนุษย์สัมพันธ์ในการทำงาน 2) ประสิทธิภาพ ของโปรแกรมฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างภาวะผู้นำในศตวรรษที่ 21 เท่ากับ 84.62/90.67 3) ภาวะผู้นำของคณะกรรมการสภานักเรียน ที่เข้าฝึกอบรมมีทักษะภาวะผู้นำในศตวรรษที่ 21 หลังฝึกอบรมมีภาวะผู้นำสูงกว่าก่อนฝึกอบรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 4) ความพึงพอใจต่อการใช้โปรแกรม ของคณะกรรมการนักเรียนผู้เข้าอบรมตามโปรแกรมอบรมเพื่อเสริมสร้างภาวะผู้นำในศตวรรษที่ 21 โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ( gif.latex?\bar{X}= 4.67, S.D.= 0.12) 

References

กนกอร สมปราชญ์. (2550). ภาวะผู้นำ : แนวคิด ทฤษฎีและการพัฒนา. ขอนแก่น: ภาควิชาการบริหารศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

กวี วงศ์พุฒ. (2535). ภาวะผู้นำ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์.

กิรตินันท์ จันทร์ประไพ. (2555). ความหมายของจิตอาสา. สืบค้นเมื่อ 28 กุมภาพันธ์ 2561, จาก https://freedommusa.blogspot.com

จิราพร อมรไชย. (2553). การพัฒนาโปรแกรมพัฒนาภาวะผู้นำของนักบริหารงานปกครองส่วนท้องถิ่นสังกัดองค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น. ดุษฎีนิพนธ์ การศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ตวัญจ์ลักษณ์ พวงนิล. (2555). โปรแกรมการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์สำหรับผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. สืบค้นเมื่อ 28 กุมภาพันธ์ 2561, จาก https://newtdc.thailis.or.th/docview.aspx?tdcid=246470

พรนพ พุกะพันธ์. (2544). ภาวะผู้นำและแรงจูงใจ. กรุงเทพฯ: จามจุรีย์ โปรดักท์.

ยงยุทธ เกษสาคร. (2549). ภาวะผู้นำและการทำงานเป็นทีม. กรุงเทพฯ: วี.เจ.พริ้นติ้ง.

ไพศาล วรคำ. (2559). การวิจัยทางการศึกษา. มหาสารคาม: ตักสิลาการพิมพ์.

ไพศาล ศรีสำราญ. (2549). ประเมินผลการอบรม การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ (พัฒนานักวิจัยระดับโรงเรียน)โดยใช้รูปแบบ
ของเคิร์กแพทริก (Kirkpatrick). สกลนคร: ศูนย์วิจัยและประเมินผลการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสกลนคร เขต 1.

ชาญชัย อาจินสมาจาร. (2550). ภาวะผู้นำในองค์การ. กรุงเทพฯ: ปัญญาชน.

วิโรจน์ ชัยรัตน. (2557). การวิจัยและพัฒนาโปรแกรมพัฒนาภาวะผู้นำทางวิชาการในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารบริหารการศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น, 7(1), 10-27.

วิลาพัณย์ อุรบุญนวชาติ. (2549). การพัฒนาโปรแกรมการฝึกอบรมตามแนวทางไตรสิกขาเพื่อเสริมสร้างความวินัยในตนเองของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. สืบค้นเมื่อ 21 กุมภาพันธ์ 2561, จาก https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7919

สุภัชชา พันเลิศพาณิชย์ เจ้าหน้าที่มาตรฐานการศึกษา มจร.ห้องเรียนวัดพระแก้ว เชียงราย. การพัฒนาภาวะผู้นําตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. สืบค้นเมื่อ 31 สิงหาคม 2560, จาก https://www.gotoknow.org/posts/573158

สุวิทย์ ยอดสละ. (2549). การพัฒนาตามโปรแกรมภาวะผู้เชิงวิสัยทัศน์ของผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษา. สืบค้นเมื่อ 21 กุมภาพันธ์ 2561, จาก https://www.saengtham.ac.th/journal/download/academic/academic_v10_no1.pdf

รังสรรค์ ประเสริฐศรี. (2544). ภาวะผู้นำ. กรุงเทพฯ: ธนธัชการพิมพ์.

รัตนะ บัวสนธ์. (2552). วิจัยเชิงคุณภาพทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

รุจโรจน์ แก้วอุไร. 2545. การพัฒนาระบบการเรียนการสอนผ่านเครือข่ายใยแมงมุม. วิทยานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ.

องอาจ นัยพัฒน์. (2551). แบบแผนการวิจัยเชิงทดลองและสถิติวิเคราะห์: แนวคิดพื้นฐาน และวิธีการ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อุ่นตา นพคุณ. (2546). กรอบแนวคิดการพัฒนาโปรแกรมอย่างมีส่วนร่วมทางการศึกษานอกระบบโรงเรียน. กรุงเทพฯ: ชวนพิมพ์.

David, K. B. (2503). ทฤษฎีการสื่อสาร. สืบค้นเมื่อ 21 กุมภาพันธ์ 2561, จาก www.baanjomyut.com/library/communication_theory/03_2.html

Watson, E. (2550). ภาวะผู้นำในศตวรรษที่ 21 ตามการรับรู้ของผู้นำในภาคเอกชนของประเทศแคนาดา. สืบค้นเมื่อ 21 กุมภาพันธ์ 2561, จาก https://sunzil.lib. hku.hk/ ER/detail/hkul/3756850

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-04-29

How to Cite

สุการะกิจ ศ., วรคำ ไ., & พรมท้าว อ. (2019). การพัฒนาโปรแกรมฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างภาวะผู้นำในศตวรรษที่ 21 สำหรับคณะกรรมการสภานักเรียน. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด, 13(1), 89–98. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/reru/article/view/185990