การพัฒนาตัวบ่งชี้ภาวะผู้นาทางเทคโนโลยีสารสนเทศของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
คำสำคัญ:
ภาวะผู้นำ, เทคโนโลยีสารสนเทศ, ผู้บริหารสถานศึกษาบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อพัฒนาตัวบ่งชี้และทดสอบความสอดคล้องของโมเดลโครงสร้างตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำทางเทคโนโลยีสารสนเทศของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกับข้อมูลเชิงประจักษ์ การดำเนินการวิจัย มี 3 ระยะ ประกอบด้วยระยะ
ที่ 1 การกำหนดกรอบแนวคิดในการวิจัยโดยการสังเคราะห์เอกสารงานวิจัย และการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 9 คนระยะที่ 2 การพัฒนาตัวบ่งชี้ โดยการสอบถามผู้เชี่ยวชาญ จานวน19 คน ด้วยเทคนิคเดลฟาย และระยะที่ 3 การตรวจสอบเพื่อยืนยันตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำทางเทคโนโลยีสารสนเทศของผู้บริหารสถานศึกษา กับข้อมูล เชิงประจักษ์ โดยผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 520 คน ผลการวิจัย พบว่า 1) ตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำทางเทคโนโลยี สารสนเทศของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานประกอบด้วย 5 องค์ประกอบหลัก 17 องค์ประกอบย่อย 104 ตัวบ่งชี้ 2) โมเดลการวิเคราะห์ องค์ประกอบเชิงยืนยันของตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำทางเทคโนโลยี สารสนเทศของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์
(chi-square = 83.12, df =70, P = 0.135, GFI = 0.98, AGFI = 0.99, RMSEA = 0.019, CN = 589.91) เมื่อพิจารณาค่าน้ำหนัก ขององค์ประกอบเรียงลำดับจากมากไปหาน้อยเป็นดังนี้ การมี สมรรถนะการปฏิบัติงานทางเทคโนโลยีสารสนเทศ (0.99) การใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหารสถานศึกษา (0.96) การมี จริยธรรมและการปฏิบัติตามกฎหมายในการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ (0.93) การมีวิสัยทัศน์ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ (0.93) และการสนับสนุนการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนการสอน (0.89) ตามลำดับ
References
(2552-2561). วารสารศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์วิทยาเขตปัตตานี. 21(2) ก.ค.- ธ.ค.,72.
ไพฑูรย์ ศรีฟ้า. (2556). การจัดการศึกษาที่เหมาะสมในยุคศตวรรษที่ 21. วารสารเทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา.
มหาวิทยาลัยประสานมิตร. กรุงเทพฯ : 20 (1 ) ประจาปีการศึกษา 2556, 52.
Anderson, R. E., & Dexter, S. L. (2005). School technology leadership : An empirical investigation of
prevalence and effect. Educational Administration Quarterly, 41(1),
Akbaba-Altun, S. (2008). Technology leadership in schools. D. Deryakulu (Eds.). Information technologies
In teaching socio-in psychological variables (151-173). Ankara: Maya Academy
Publications.
Byrom, E., & Bingham, M. (2001). Factors influencing the effective use of technology for teaching and
learning: Lessons learnt from the SEIR/TEC intensive site schools (2Nd Ed.). Greensboro,
NC:University of North Carolina.
Campbell, T. (2003). Plenty of secondary school administrator leadership competencies. Te Turkish
Online Journal of Educational Technology, 2 (3), 94-107.
Chang, I. (2013). Assessing the dimensions of principals' effective technology leadership:
An application of structural equation modelling. Educational Policy Forum, 6(1), 111-141.
Fullan, M. (2002). The change leader. Educational Leadership, 59(8), 16-20.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว