การพัฒนาแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องระบบจำนวนเต็ม สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

ผู้แต่ง

  • กนกกร พวงสมบัติ
  • นฤมล แสงพรหม
  • เบญจมาภรณ์ เสนารัตน์
  • สมประสงค์ เสนารัตน์

คำสำคัญ:

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์, ระบบจานวนเต็ม, ประสิทธิภาพ

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ระบบจำนวนเต็ม สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 1 กระบวนการวิจัยและพัฒนาประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ 1) พัฒนาเครื่องมือ ประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้
แบบฝึกทักษะ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบบวัดความพึงพอใจ 2) ทดลองใช้เครื่องมือกับนักเรียนชั้นมัธยม
ศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนวัดโกรกประดู่ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 1 ในปีการศึกษา 2557 และในปี
การศึกษา 2558 3) หาประสิทธิภาพและประสิทธิผลของแบบฝึกทักษะ และ 4) ความพึงพอใจที่เรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะ
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนวัดโกรกประดู่ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 1 ในปีการศึกษา
2559 จำนวน 9 คนได้มาโดยเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) ผลการวิจัย พบว่าแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์
เรื่องระบบจานวนเต็ม สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีคุณภาพด้านความตรงตามเนื้อหาในระดับมากที่สุด มีประสิทธิภาพ
(E1/E2) เท่ากับ 80.00/78.52 มีดัชนีประสิทธิผล (E.I.) เท่ากับ 0.69 และนักเรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียน
การสอนในระดับมาก

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2553). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ:
โรงพิมพ์องค์รับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ (ร.ส.พ.).

ชัยยงค์ พรหมวงศ์ และคณะ. (2547). รายงานผลการวิจัย การเปรียบเทียบสัมฤทธิ์ผลของนักเรียนชั้นประถมศึกษา ที่เรียน
จากห้องเรียนแบบครูเป็นศูนย์กลางและห้องเรียนแบบศูนย์การเรียน. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เผชิญ กิจระการ. (2544). การวิเคราะห์ประสิทธิภาพสื่อและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา. วารสารการวัดผลการศึกษา,
2544 (7 กรกฎาคม), 30–36.

รวีวรรณ ชินะตระกูล. (2543). เทคนิคการวิจัย : การวิจัยเชิงคุณภาพ. กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า
เจ้าคุณทหารลาดกระบัง.

โรงเรียนวัดโกรกประดู่. (2557). ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโรงเรียนวัดโกรกประดู่ ปีการศึกษา 2556. สำนักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 1. บุรีรัมย์, 2557.

ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ. (2538). เทคนิคการวิจัยทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: สุวีริยสาส์น.

สุจริต เพียรชอบ และสายใจ อินทรัมพรรย์. (2542). สถิติเพื่อการวิจัย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุปราณี ปัทมสิทธิโชติ. (2555). การพัฒนาแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสรรพวิทยาคม. [ออนไลน์], แหล่งที่มา:
www.kroobannok.com/board_cat_list.php?bcat_id=16. [12 พฤษภาคม 2555].

สมนึก ภัททิยธนี. (2547). การวัดผลการศึกษา. มหาสารคาม : ภาควิชาการวัดผลและวิจัยการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม.

สมบัติ ท้ายเรือคา. (2552). ระเบียบวิธีวิจัยสาหรับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 3. มหาสารคาม:
โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.


สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2553). คู่มือการจัดกิจกรรมกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์. กรุงเทพฯ:
องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์.

อนุรักษ์ เร่งรัด. (2558). การพัฒนาแบบฝึกทักษะ วิชาคณิตศาสตร์ เรื่องการประยุกต์ 1 โดยใช้การจัดการเรียนรู้
แบบปัญหาเป็นฐานเพื่อส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหาสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1.
เอกสารประกอบการประชุมนาเสนอผลงานวิจัยและวิทยานิพนธ์ระดับชาติ ปี พ.ศ. 2558 หน้า 305.

อธิวัฒน์ แก้วลอดหล้า. (2556). การพัฒนาแบบฝึกเสริมทักษะ เรื่องระบบจานวนเต็ม กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านโคกศิลา. [ออนไลน์], แหล่งที่มา:
www.kroobannok.com/board_cat_list.php?bcat_id=16. [14 มิถุนายน 2556].

Brennan, R. L. A. (1972). generalized U-L item discrimination index. Educational and Psychological
Measurement, (29) 353-358.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2017-12-31

How to Cite

พวงสมบัติ ก., แสงพรหม น., เสนารัตน์ เ., & เสนารัตน์ ส. (2017). การพัฒนาแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องระบบจำนวนเต็ม สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด, 11(2), 1–7. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/reru/article/view/176322