การจัดการนวัตกรรมเพื่อความสำเร็จของอุตสาหกรรม อสังหาริมทรัพย์

ผู้แต่ง

  • อภิชัย ชุ่มชื่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
  • เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
  • วรสิทธิ์ เจริญพุฒ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์

คำสำคัญ:

การจัดการ, นวัตกรรม, ความสำเร็จ, อสังหาริมทรัพย์

บทคัดย่อ

            อุตสาหกรรมอสังหาริมทรัพย์เผชิญกับการดำเนินธุรกิจในสภาพแวดล้อมที่มีการแข่งขันสูงและการแพร่ระบาดของเชื้อ โควิด 19 ที่ผ่านมาส่งผลให้สังคมมีการปรับตัวอย่างรวดเร็ว และการเปลี่ยนแปลงอย่างมากโดยเฉพาะการนำเทคโนโลยีต่างๆเข้ามาดูแลและป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด 19 เช่น การใช้แอพพลิเคชั่นต่างๆในการติดตามตัวและป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด 19 จากผลกระทบจากการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด 19 มีผลทำให้ผู้คนได้มีการทำงานอยู่กับบ้านมากขึ้น (Work from home)  จึงทำให้มีการใช้เทคโนโลยี และนวัตกรรมใหม่ๆเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของการดำเนินชีวิตและการทำงาน ดังนั้นการทำผู้คนได้มีการทำงานอยู่บ้านมากขึ้นจึงมีการตัดสินใจในการเลือกซื้อที่อยู่อาศัยหรือพฤติกรรมในการตัดสินใจซื้อที่อยู่อาศัยเปลี่ยนไป จึงทำให้มีความต้องการซื้อที่อยู่อาศัยแบบแนวราบมากกว่าแนวดิ่ง เช่นคอนโดมิเนียม ผู้ประกอบการธุรกิจอสังหาริมทรัพย์จึงจำเป็นที่จะต้องมีการปรับตัวเพื่อรองรับแนวโน้มวิถีชีวิตของผู้คนที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมและมีความจำเป็นเร่งด่วนที่จะต้องมีการนำนวัตกรรมเข้ามาช่วยในการบริหารจัดการอสังหาริมทรัพย์ เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างฉับพลัน

References

Boonlert, B. (2010). The secret regulations making money in real estate. Bangkok : T & K.

Chang, S. C., & Lee, M. S. (2008). The linkage between knowledge accumulation capability and organizational innovation. Journal of Knowledge Management, 12(1), pp. 3-20.

Chunsheng, B., & Dapeng, M. (2007). Study on new product development: Based on the process innovation of organization. Canadian Social Science, 3(3), pp. 27-34.

Daft, R. L. (2007). Understanding the theory and design of organizations. USA : Thomson.

Drucker, P. (1985). The entrepreneurial mystique. Inc. 7(10), pp. 34-58

Kasikorn Research Center. (2022). Business trend analysis. [Online] https://shorturl.asia/SsEjU. [14 April 2022]

Khunphonkaew, C. (2022). Innovation Management. [Online]. https://shorturl.asia/dsyoF. [12 January 2022]

Mansharamani, V. (2005). Towards a theory of service innovation: An inductive case study approach to evaluating the uniqueness of service. Master of Science, pp. 1-69

Payuhanaveechai, C. (2008). The analysis of real estate innovation. GH Bank Housing Journal, 53(14), p. 66.

Robbins, S. P. & Mary C. (2003). Management. (7thed). New Jersey: Engle Wood Cliffs Prentice Hall.

Schermerhorn, J. R., Hunt, J. G., & Osborn, R. N. (2003). Organizational Behavior. (9th ed.). New York: John Wiley & Sons, Inc.

Sumanasethakul, P. (2022). Real estate: 65 years of recovery. Prices move - investment in the periphery booms. [Online]. https://shorturl.asia/N9D3k. [25 June 2022]

Urabe, K., Child, J., & Kagono, T. (1988). Innovation and management: International comparisons. New York : Walter de Gruyter.

Vermeulen, P. A. M. (2005). Uncovering barriers to complex incremental product innovation in small and mediumsized financial services firms. Journal of Small Business Management, 43(4), pp. 432-452.

Wiratkaphan, W. (2022). Western real estate. Newly opened projects increase and decrease in value. [Online]. https://shorturl.asia/JQYmZ. [1 February 2022]

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-04-19

How to Cite

ชุ่มชื่น อ., เชาว์แสงรัตน์ เ., & เจริญพุฒ ว. (2024). การจัดการนวัตกรรมเพื่อความสำเร็จของอุตสาหกรรม อสังหาริมทรัพย์. Journal for Developing the Social and Community, 11(1), 193–204. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/rdirmu/article/view/264904