การพัฒนาแอนิเมชันนิทานพื้นบ้านในรูปแบบแอนดรอยด์แอปพลิเคชั่น เพื่อสืบทอดให้คนรุ่นหลังอย่างยั่งยืน

ผู้แต่ง

  • พจน์ศิรินทร์ ลิมปินันทน์ อาจารย์ คณะเทคโนโลยีและสารสนเทศ มหาวิทยาลยัราชภฏัมหาสารคาม

คำสำคัญ:

กุดนางใย, การ์ตูนแอนิเมชั่น, นิทานพื้นบ้านไทย, แอนดรอยด์แอพพลิเคชั่น

บทคัดย่อ

โครงการวิจัยนี้ได้มีการพัฒนาแอนิเมชันในรูปแบบแอนดรอยด์แอปพลิเคชั่นสำหรับสืบทอด นิทานพื้นบ้านอีสาน เรื่อง กุดนางใย หลังจากพัฒนาแล้วได้นำแอนิเมชันในรูปแบบแอนดรอยด์แอปพลิเคชั่น ดังกล่าวไปให้กลุ่มตัวอย่างที่เป็นนักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีมัลติมีเดียและแอนิเมชัน คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม จำนวน 92 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยการสุ่มแบบแบ่งชั้น ทดลองใช้เพื่อประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้ ผลการวิเคราะห์พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจในระดับมาก ที่สุด

References

ดารุณี พิริยะชนานุสรณ์ . (2552). นิทานพื้นบ้านไทยสื่อชั้นดีของเด็กไทย.....ที่ถูกลืม. http://www.l3nr.org/posts/297053. (สืบค้นวันที่ 1 กันยายน 2557).

บุญชม ศรีสะอาด. (2545). การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น. ลาวัณย์ สังขพันธานนท์ . (2552). วารสารมนุษย์ศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร. 107-125.

ภูมิจรรยา. (2557). 79 ชุมนุมนิทานพื้นบ้านไทย กระชับ เข้าใจง่ายได้คติสอนใจ. กรุงทพฯ : Feel good Publishing.

วงหทัย ตันชีวะวงศ์ . (2556). ปัจจัยที่มีผลต่อการใช้โมบายแอปพลิเคชั่นบนสมาร์ทโฟนและแท็บเล็ต.

สำนักงานพัฒนาธุรกรรม. (2557). ผลการสำรวจของสำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ . https://www.etda.or.th. (สืบค้น 1 กันยายน 2557).

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2016-07-31

How to Cite

ลิมปินันทน์ พ. (2016). การพัฒนาแอนิเมชันนิทานพื้นบ้านในรูปแบบแอนดรอยด์แอปพลิเคชั่น เพื่อสืบทอดให้คนรุ่นหลังอย่างยั่งยืน. Journal for Developing the Social and Community, 3(2), 105–111. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/rdirmu/article/view/211585