การปรับปรุงคุณภาพข้าวเม่ากึ่งสำเร็จรูป
คำสำคัญ:
ข้าวเม่ากึ่งสำเร็จรูป, ปริมาณน้ำอิสระ, ลักษณะเนื้อสัมผัส, การทดสอบทางประสาทสัมผัสบทคัดย่อ
การอบแห้งที่อุณหภูมิสูงมักจะทำให้ผลิตภัณฑ์ที่ไวต่อความร้อนสูญเสียสภาพ การอบแห้งอาหาร
ด้วยเทคนิคการทำแห้งแบบแช่เยือกแข็งที่สภาวะอุณหภูมิและความดันต่ำ สามารถลดปัญหาการเปลี่ยนแปลง
คุณภาพทางกายภาพของผลิตภัณฑ์ได้ ทำให้คุณภาพหลังการอบแห้งของผลิตภัณฑ์ที่ได้มีคุณภาพสูงงานวิจัยนี้
มีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบคุณภาพข้าวเม่ากึ่งสำเร็จรูปที่ผ่านการอบแห้งอาหารด้วยเทคนิคการทำแห้งแบบ
แช่เยือกแข็ง โดยศึกษาคุณภาพทางกายภาพ ดังนี้ ปริมาณน้ำอิสระ การเปลี่ยนแปลงค่าสี ลักษณะเนื้อสัมผัส
และการทดสอบทางประสาทิสัมผัส ผลการวิจัย พบว่า การเปลี่ยนแปลงสีของข้าวเม่ากึ่งสำเร็จรูปหลังการทำ
แห้ง ลักษณะสีของข้าวเม่ามีค่าความสว่างเพิ่มสูงขึ้น ค่าปริมาณน้ำอิสระเป็นไปตามเกณฑ์ของผลิตภัณฑ์
อาหารแห้ง แนวโน้มของข้าวเม่ากึ่งสำเร็จรูปมีลักษณะเนื้อสัมผัสมีค่าความแข็ง ความเหนียว การเกาะติดกัน
ภายในเมล็ด ความยืดหยุ่น และการบดเคี้ยวสูงกว่าข้าวเม่าจากท้องตลาดีสำหรับการประเมินทางประสาท
สัมผัสข้าวเม่ากึ่งสำเร็จรูปมีการยอมรับด้านสีค่าคะแนนมีค่าเฉลี่ยในระดับ 27% มีค่าสูงที่สุด
References
จิตธนา แจ่มเมฆ และคณะ. (2546). วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . พิมพ์
ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ, หน้า 146-187
สุธยา พิมพ์พิไล. (2551) ข้าวไทยกับเทคโนโลยีการแปรรูป. ภาควิชาเทคโนโลยีทางอาหาร คณะวิศวกรรม
และอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
อุมาภรณ์ เนตรแหน วรรณา ภูสันต์ . (2551).ข้าวกึ่งสำเร็จรูปกลิ่นใบเตย. คณะเทคโนโลยีการเกษตรและ
เทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
Lim, J., Fujimaru, T. (2010). Evaluation of the Labeled Hedonic Scale under different
experimental conditions. Food Quality Prefer. 21: 521-530"
ศูนย์เครือข่ายข้อมูลอาหารครบวงจร. แอคทิวิตี้ของน้ำ.สืบค้นออนไลน์จาก
URL:http://www.foodnetworksolution.com
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ . สังคมเกษตรกรรมไทย. สืบค้นออนไลน์จาก
URL:http://www.aritc.nsru.ac.th
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์เป็นของผู้ประพันธ์บทความ