การหาค่าสัมประสิทธิ์การถ่ายโอนความร้อนและการแพร่ความชื้นประสิทธิผลของไพลอบแห้ง

ผู้แต่ง

  • มะลิ นาชัยสินธ์ วารสารวิจัยเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
  • ศักดิ์ชัย ดรดี วารสารวิจัยเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

คำสำคัญ:

สัมประสิทธิ์การถ่ายโอนความร้อน, การแพร่ความชื้นประสิทธิผล, รังสีอินฟราเรด, ไพล

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของความเข้มของการแผ่รังสีอินฟราเรดแบบคลื่นยาวต่อการ เปลี่ยนแปลงความชื้นของไพลอบแห้ง โดยที่สัมประสิทธิ์การถ่ายโอนความร้อนของไพลและสัมประสิทธิ์การแพร่ ความชื้นประสิทธิผลของไพลจะถูกตรวจสอบภายใต้การอบแห้งด้วยป๎๊มความร้อนร่วมกับการแผ่รังสีอินฟราเรดคลื่น ยาวตัวแปรการอบแห้งคือ ความเข้มของรังสีอินฟราเรดคลื่นยาวที่ 1-4 kW/m2 อุณหภูมิของอากาศอบแห้งที่ 4060°C และความเร็วของอากาศอบแห้งที่ 0.5 m/s ผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าความชื้นเริ่มต้นของไพลจะลดลง จาก 420-500% d.b. ถึงความชื้นสุดท้ายที่ 6 %d.b. สัมประสิทธิ์การแพร่ความชื้นประสิทธิผลของไพล จะเพิ่มขึ้น อย่างเร็วในช่วงแรกของการอบแห้งและหลังจากนั้นจะคงที่ด้วยการเพิ่มขึ้นของเวลาอบแห้ง สัมประสิทธิ์การถ่ายเท ความร้อนของไพลจะอยู่ในช่วง 27-1200 kW/m2°C, 60-300 kW/m2°C และ 30-280 kW/m2°C ที่อุณหภูมิของ การอบแห้ง40, 50 และ 60°C ตามลําดับ การแพร่ความชื้นประสิทธิผลอยู่ในช่วง 0.11x10-10 -0.84x10-10 m2/s

References

ทวีศักดิ์ สุนทรธนศาสตร์ และคณะ. ไพลเจล : การวิจัยและพัฒนาเป็นยาทาภายนอกสำหรับต้านการอักเสบอย่างครบวงจร. การสัมมนา แนวทางการพัฒนาสมุนไพรของประเทศไทย, กรุงเทพฯ, 13-14 กันยายน 2543 2543 :289-91.

เทวรัตน์ ทิพยวิมล และสมยศ เชญิอักษร, 2552, ” ความชื้นสมุดลและจลศาสตร์การอบแห้งของไพล “, การ ประชุมวิชาการสมาคมวิศวกรรมเกษตรแห่งประเทศไทย, ครั้งที่ 10, 1-3 เมษายน, สุรสัมมนาคาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี,. 2552. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานและเพิ่มเติม ฟิสิกส์ เล่ม 4. พิมพ์ครั้งที่ 5.

อดุลย์หลักชัยวีูระฟาเฟื่องวิทยากลุ วิบูลย์ ช่างเรือและพฤทธ์ สกุลช่างสัจจะทัย, 2551,” อิทธิพลของอุณหภูมิและ ความหนาต่อการอบแห้งไพลหั่นด้วยเครื่องอบแบบลมร้อน “,วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร, ปีที่ 39, ฉบับที่ 3, หน้า 335-338.

Ar-Reum H, Moon-Sun K, Yeon H J. (2005) Cyclooxygenase-2 inhibitory phenylbutenoids form the rhizomes of Zingiber cassumunar. Chem Pharm Bull; 53(11): 1466-68.

Dondee, D., Meeso, M., Soponronnarit, S and Siriamornpun, S. (2011) Reducing cracking and breakage of soybean grains. Journal of Food Engineering, 104 : 6-13.

Ipsita, D., S.K. Das., Satish B.(2004). Specific energy and quality aspects of infrared (IR) dried parboiled rice, Journal of Food Engineering, (62): 9-14

Khir R., Pan Z., Salim A., Hartsough B.., and Mohamed S. (2011) Moisture diffusivity of rough rice under infrared radiation drying. Food Science and Technology, 44: 1126-1132

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2014-07-31

How to Cite

นาชัยสินธ์ ม., & ดรดี ศ. (2014). การหาค่าสัมประสิทธิ์การถ่ายโอนความร้อนและการแพร่ความชื้นประสิทธิผลของไพลอบแห้ง. Journal for Developing the Social and Community, 1(2), 117–126. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/rdirmu/article/view/211152