การศึกษาอิทธิพลของแรงจูงใจในการบริการสาธารณะทมี่ีต่อความพึงพอใจในการ ปฏิบัติงาน ความผูกพันต่อองค์การ และการใส่ใจในการส่งมอบบริการสาธารณะของ ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดมหาสารคาม ร้อยเอ็ด และกาฬสินธุ์

ผู้แต่ง

  • Preeyanuch Watthanakul อาจารย์ประจ าหลกัสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏัมหาสารคาม

คำสำคัญ:

แรงจูงใจในการบริการสาธารณะ, พฤติกรรมการใส่ใจในการส่งมอบบริการสาธารณะ

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับแรงจูงใจในการบริการสาธารณะ ระดับความพึง พอใจในการปฏิบัติงาน ระดับความผู้กพันต่อองค์การและระดับการสนใจในการส่งมอบบริการสาธารณะ และศึกษาอิทธิพลของแรงจูงใจในการบริการสาธารณะที่มีต่ออิทธิพลของแรงจูงใจในการบริการสาธารณะที่มีต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ความผู้กพันต่อองค์การและการใส่ใจในการส่ง มอบบริการสาธารณะ กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใน จังหวัดมหาสารคาม ร้อยเอ็ด และกาฬสินธุ์ จำนวน 201 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น และการสุ่มแบบง่าย ผลการศึกษาระดับแรงจูงใจในการบริการสาธารณะ พบว่า กลุ่มตัวอย่างผู้บริหารองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นในจังหวัดกาฬสินธุ์ มหาสารคาม และร้อยเอ็ด มีระดับแรงจูงใจในการบริการสาธารณะใน เกณฑ์มาก หากพิเคราะห์เป็นรายจังหวัดจะพบว่า กลุ่มตัวอย่างผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใน จังหวัดร้อยเอ็ด (ค่าเฉลี่ย = 4.47) จะมีค่าเฉลี่ยของแรงจูงใจในการบริการสาธารณะสูงกว่า กลุ่มตัวอย่างผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดมหาสารคาม (ค่าเฉลี่ย = 4.38) และกาฬสินธุ์ (ค่าเฉลี่ย = 4.32) ตามลำดับ ด้านการวัดระดับความผู้กพันต่อองค์การผลการศึกษาชี้ว่า ระดับความผู้กพันต่อองค์การในกุลม ตัวอย่างผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจากทั้งสามจังหวัดอยู่ในเกณฑ์มาก เมื่อเปรียบเทียบแล้ว ค่าเฉลี่ยของระดับความผู้กพันต่อองค์การในกุลมตัวอย่างผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจาก จังหวัดร้อยเอ็ด (ค่าเฉลี่ย = 4.10) จะสูงกว่ากลุ่มตัวอย่างผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจาก จังหวัดมหาสารคาม (ค่าเฉลี่ย = 4.03) และกลุ่มตัวอย่างผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจาก จังหวัดกาฬสินธุ์ (ค่าเฉลี่ย = 4.03)

ด้านความใส่ใจในการให้บริการสาธารณะ ผลการศึกษาพบว่า โดยภาพรวม กลุ่มตัวอย่างผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจากทั้งสามจังหวัดมีระดับความใส่ใจในการให้บริการอยู่ในเกณฑ์ มาก เมื่อศึกษาในแต่ละจังหวัดจะพบว่า กลุ่มตัวอย่างผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจากจังหวัด กาฬสินธุ์ (ค่าเฉลี่ย = 4.31) มีระดับความใส่ใจในการส่งมอบบริการสาธารณะสูงกว่ากลุ่มตัวอย่างผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจากจังหวัดร้อยเอ็ด (ค่าเฉลี่ย = 4.30) และกลุ่มตัวอย่างผู้บริหาร องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจากจังหวัดมหาสารคาม (ค่าเฉลี่ย = 4.26) ตามลำดับ ผลการวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม (One-Way ANOVA) พบว่า ไม่พบความแตกต่างอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติในระดับแรงจูงใจในการบริการสาธารณะ ระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ระดับ ความผู้กพันต่อองค์การและระดับการสนใจในการส่งมอบบริการสาธารณะในกุลมตัวอย่างผู้บริหาร องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจากทั้งสามจังหวัด ผลการวิเคราะห์ถดถอยพหุชี้ว่า แรงจูงใจในการบริการสาธารณะสามารถทำนายความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ความผู้กพันต่อองค์การและความใส่ใจในการส่งมอบบริการสาธารณะได้ ในตอนท้าย ผู้วิจัยได้จัดทำข้อเสนอแนะอันประกอบไปด้วยการส่งเสริมระดับแรงจูงใจในการบริการสาธารณะในกุลมผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นโดยประยุกต์ใช้ social construct theory หรือทฤษฎีที่ว่า ด้วยการอาศัยบทบาทของภาคส่ั่งคม เช่น ภาคประชาชน สื่อมวลชน หรือกี่ลุ่ม ข้าราชการในท้องที่ให้เข้ามามีอิทธิพลชี้นำบทบาที่ทคาดหวังโดยเฉพาะอย่างยิ่งพฤติกรรมเชิงจริยธรรม ของกลุ่มผููู้้้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งพฤติกรรมนี้เป็นหนึ่งในองค์ประกอบหลักของแรงจูงใจ ในการบริการสาธารณะ อีกทั้ง การส่งเสริมให้มีการพัฒนาตัวแบบการวัดระดับแรงจูงใจในการบริการสาธารณะกับกลุ่มผููู้้้บริหารและพนักงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อให้ทราบถึงระดับแรงจูงใจใน การบริการสาธารณะของพวกเขาเหล่านั้น เพื่อจะเป็นแนวทางในการวางแผนการส่งเสริมระดับแรงจูงใจ ในการบริการสาธารณะได้อย่างถูกต้อง

ด้านความใส่ใจในการให้บริการสาธารณะ ผลการศึกษาพบว่า โดยภาพรวม กลุ่มตัวอย่างผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจากทั้งสามจังหวัดมีระดับความใส่ใจในการให้บริการอยู่ในเกณฑ์ มาก เมื่อศึกษาในแต่ละจังหวัดจะพบว่า กลุ่มตัวอย่างผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจากจังหวัด กาฬสินธุ์ (ค่าเฉลี่ย = 4.31) มีระดับความใส่ใจในการส่งมอบบริการสาธารณะสูงกว่ากลุ่มตัวอย่างผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจากจังหวัดร้อยเอ็ด (ค่าเฉลี่ย = 4.30) และกลุ่มตัวอย่างผู้บริหาร องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจากจังหวัดมหาสารคาม (ค่าเฉลี่ย = 4.26) ตามลำดับ ผลการวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม (One-Way ANOVA) พบว่า ไม่พบความแตกต่างอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติในระดับแรงจูงใจในการบริการสาธารณะ ระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ระดับ ความผู้กพันต่อองค์การและระดับการสนใจในการส่งมอบบริการสาธารณะในกุลมตัวอย่างผู้บริหาร องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจากทั้งสามจังหวัด ผลการวิเคราะห์ถดถอยพหุชี้ว่า แรงจูงใจในการบริการสาธารณะสามารถทำนายความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ความผู้กพันต่อองค์การและความใส่ใจในการส่งมอบบริการสาธารณะได้ ในตอนท้าย ผู้วิจัยได้จัดทำข้อเสนอแนะอันประกอบไปด้วยการส่งเสริมระดับแรงจูงใจในการบริการสาธารณะในกุลมผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นโดยประยุกต์ใช้ social construct theory หรือทฤษฎีที่ว่า ด้วยการอาศัยบทบาทของภาคส่ั่งคม เช่น ภาคประชาชน สื่อมวลชน หรือกี่ลุ่ม ข้าราชการในท้องที่ให้เข้ามามีอิทธิพลชี้นำบทบาที่ทคาดหวังโดยเฉพาะอย่างยิ่งพฤติกรรมเชิงจริยธรรม ของกลุ่มผููู้้้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งพฤติกรรมนี้เป็นหนึ่งในองค์ประกอบหลักของแรงจูงใจ ในการบริการสาธารณะ อีกทั้ง การส่งเสริมให้มีการพัฒนาตัวแบบการวัดระดับแรงจูงใจในการบริการสาธารณะกับกลุ่มผููู้้้บริหารและพนักงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อให้ทราบถึงระดับแรงจูงใจใน การบริการสาธารณะของพวกเขาเหล่านั้น เพื่อจะเป็นแนวทางในการวางแผนการส่งเสริมระดับแรงจูงใจ ในการบริการสาธารณะได้อย่างถูกต้อง

References

Perry, J. L. (1997). “Antecedents of public service motivation”. Journal of Public Administration Research & Theory, 7 (2), 181-197.

Perry, J. L., & Hondeghem, A. (2008). Directions for future theory and research. In J. L. Perry & A. Hondeghem (Eds.), Motivation in public management : The call for public service (pp. 294-313). New York : Oxford University Press.

Perry, J. L., & Wise, L. R. (1990). “The motivational basis of public service”. Public Administration Review, 50, 367-373.

Perry, J. L., Hondeghem, A. & Wise, L. R. (2010). “Revisiting the motivational bases of public service : Twenty years of research and an agenda for the Future”. Public Administration Review, 70, 681-690.

Pichit Pitaktepsombati et al. (2009). Job satisfaction and organizational commitment : Definition, Theory, Research methodology, Measurement and Research. Bangkok : Sema Dharma. [In Thai]

Podsakoff : M., & Organ, D. W. (1986). “Self-reports in organizational research : Problems and prospects. Journal of Management, 12 (4), 69–82.Ritz, A. (2009). Public service motivation and organizational performance in Swiss federal government”. International Review of Administrative Sciences, 75, 53-78.

Podsakoff : M., MacKenzie, S. B., Lee, J.-Y., & Podsakoff, N. P. (2003). “Common method biases in behavioral research : A critical review of the literature and recommended remedies”. Journal of Applied Psychology, 88 (5), 879-903.

Podsakoff : M. and Organ, D.W. (1986). “Self-Reports in Organizational Research : Problems and Prospects”. Journal of Management, 12, 531-544.

Podsakoff : M., MacKenzie, S.B., & Podsakoff, N.P. (2012). “Sources of method bias in social science research and recommendations on how to control it”. Annual Review of Psychology, 63, 539-569.

Rainey, H. G. (1982). “Reward preference among public and private managers : In search of the service ethic”. American Review of Public Administration, 16, 288– 302.

Steijn, B. (2008). “Person-environment fit and public service motivation”. International Public Management Journal, 11, 13-27. Sung Min Park and Hal G.

Rainey. (2008). “Leadership and public service motivation in U.S. federal agencies”, International Public Management Journal, 11 (1)

Tabachnick, G., & Fidell, S. (2001). Using multivariate statistics (4th edition.). Needham Heights, MA : Allyn and Bacon.

Vandenabeele, W., & Van de Walle, S. (2008). International differences in public service motivation : Comparing regions across the world. In J. L. Perry & A. Hondeghem (Eds.), Motivation in public management : The call for public service (pp. 223244). New York : Oxford University Press.

Visanupong Sa-Nguansajapong. (2004). People Satisfaction on the Department of Local Administration Registion of Lahan Sai District Registration Office, Buri Ram Province. Master of Arts (Social Development). National Institute of Development Administration. [In Thai]

Wright, B. E., Moynihan, D. P., & Pandey, S. K.. (2012). “Pulling the levers : Transformational leadership, public service motivation, and mission valence”. Public Administration Review, 72 (2). 206-215.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2018-12-31

How to Cite

Watthanakul, P. (2018). การศึกษาอิทธิพลของแรงจูงใจในการบริการสาธารณะทมี่ีต่อความพึงพอใจในการ ปฏิบัติงาน ความผูกพันต่อองค์การ และการใส่ใจในการส่งมอบบริการสาธารณะของ ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดมหาสารคาม ร้อยเอ็ด และกาฬสินธุ์. Journal for Developing the Social and Community, 5(2), 75–90. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/rdirmu/article/view/210495