A Study of Attitude and Behavior of the Financial Transaction Service with Cashless of Faculty of Management Science, Valaya Alongkorn Rajabhat University under the Royal Patronage Students

Authors

  • Ajcharawan Sujkird สาขาวิชาการบริหารธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
  • Apa Saisombat สาขาวิชาการจัดการ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์

Keywords:

Financial Transactions, Financial Service Attitude, Cashless

Abstract

This research aims to 1) study the behavior of using Cashless financial transactions among students of the Faculty of Management Science, Valaya Alongkorn Rajabhat University Under the Royal Patronage, and 2) investigate the attitudes towards using Cashless transaction services of students of of the Faculty of Management Science, Valaya Alongkorn Rajabhat University Under the Royal Patronage. 400 students of the Faculty of Management Science, Valaya Alongkorn Rajabhat University Under the Royal Patronage were selected by convenience sampling to answer the questionnaire. The descriptive statistics, frequency, percentage, mean, and standard deviation) were used for data analysis, while t-test and one-way ANOVA were used for hypothesis testing. The results of the study were as follows:  1) Most of the students used to check balance, transfer money, pay for products and services, pay utility bills and top up mobile phones for convenience 2) Students perceived utility, perceived ease of use and the intention to use was statistically significant at 0.05 level.

References

กฤตโสภา ทิพย์ปัญญาวงศ์. (2559). การศึกษาปัญหาและแรงจูงใจในการใช้งานเงินอิเล็กทรอนิกส์ (e-Money) ผ่านโทรศัพท์มือถือในประเทศไทย. การค้นคว้าอิสระวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการตลาด, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ชลิตพันธ์ บุญมีสุวรรณ. (2561, กรกฎาคม - ธันวาคม). สังคมไร้เงินสด. วารสารธุรกิจปริทัศน์, 10(2), 235-248.

ธนพล กองพาลี. (2563). มุ่งสู่เศรษฐกิจไร้เงินสด: พฤติกรรมผู้บริโภคและโอกาสของธุรกิจไทยช่วงโควิด 19. สืบค้น 15 มิถุนายน 2563, จาก https://www.bot.or.th/Thai/ResearchAndPublications/articles/Pages/Article_21Jul2020.aspx.

ฐิตินัน บุญภาพ คอมมอน. (2556). บทบาทสื่อใหม่ในการสร้างค่านิยมทางสังคมและอัตลักษณ์ของเยาวชนไทยในเขตกรุงเทพมหานคร. (รายงานการวิจัย). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต.

ธนาคารแห่งประเทศ. (2563). สังคมไทย (กำลัง) ไร้เงินสด. สืบค้น 5 มิถุนายน 2563, จาก https://www.bot.or.th/Thai/MonetaryPolicy/ArticleAndResearch/Pages/FAQ169.aspx.

นันทนี ลักษมีการค้า. (2561). ปัจจัยการยอมรับเทคโนโลยีต่อการเข้าสู่สังคมไร้เงินสดของประชากร เจเนอเรชัน เอ็กซ์ ขึ้นไป : กรณีศึกษาจังหวัดกรุงเทพมหานคร. การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการบัญชี, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ภควันต์. (2561). อนาคตโลกกับ “สังคมไร้เงินสด” สู่การปรับตัวครั้งใหญ่ของเหล่าธนาคารพาณิชย์. ค้นเมื่อ 15 มิถุนาย 2563, จาก https://nextempire.co/stories/next-business/.

ฤทธิชัย วานิชย์หานน์. (2559). Cashless Society กับประเทศไทย. ศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษา สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์.กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ศูนย์วิจัยกสิกรไทย. (2560). ระบบชำระเงินดิจิทัล ตัวช่วยSMEทำเงิน. ค้นเมื่อ 28 มกราคม 2563, จาก http://bit.ly/2vqk7xE.

อรรณพ ดวงมณี และต่อตระกูล อุบลวัตร. (2561, มกราคม - มิถุนายน). พฤติกรรมการใช้สื่อใหม่ และทัศนคติที่มีต่อการเข้าสู่สังคมไร้เงินสดของประชาชนในกรุงเทพมหานคร. นิเทศสยามปริทัศน์, 17 ( 22), 150-153.

อรชพร ศักดิ์พรหม และจิรพล สังข์โพธิ์. (2559). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการยอมรับการใช้งานระบบพร้อมเพย์ (Prompt Pay) ของประชากรในเขตกรุงเทพมหานคร. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

Bauer, R. (1967). Consumer Behavior as Risk Taking. Massachusetts: Harvard University.

Chang, I. C, Hwang, H. G., Hung, W. F. and Li, Y. C. (2007). Physicians’ acceptance of pharmacokinetics-based clinical decision support systems. Expert systems with applications, 33(2), 296-303.

Fuksa, M. (2013). Mobile technologies and services development impact on Mobile Internet usage in Latvia. Procedia Computer Science, 41-50.

Mowen, J. C. and Minor, M. (1998). Consumer behavior (5th ed). New Jersey: Prentice-Hall.

Schiffman, L. G. and Kanuk, L. L. (2007). Consumer behavior (9th ed). New Jersey: Prentice – Hall.

Downloads

Published

06/30/2021