การพัฒนาทุนมนุษย์เพื่อยกระดับฝีมือแรงงานไทยในศตวรรษที่ 21

ผู้แต่ง

  • อรุณเดช มารัตน์ วิทยากรที่ปรึกษา บริษัทพาร์ทเนอร์ชิพ เซอร์วิส เซ็นเตอร์ แอนด์ แมนเนจเมนท์ จำกัด
  • เอนก ดาพา วิทยากรที่ปรึกษา บริษัทพาร์ทเนอร์ชิพ เซอร์วิส เซ็นเตอร์ แอนด์ แมนเนจเมนท์
  • วรรณสินท์ สัตยานุวัตร์ หัวหน้าศูนย์นโยบายการค้า การลงทุน และการประเมินผล สถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง

คำสำคัญ:

การพัฒนาทุนมนุษย์, ยกระดับฝีมือแรงงาน, ทุนมนุษย์, ศตวรรษที่ 21

บทคัดย่อ

การพัฒนาทุนมนุษย์เพื่อยกระดับแรงงานไทยในศตวรรษที่ 21 เป็นกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนธุรกิจขององค์กรภาคเอกชนให้ประสบความสำเร็จ ซึ่งเกิดจากกระบวนการพัฒนาทุนมนุษย์ที่มีความชัดเจน สามารถดำเนินการได้อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้พนักงานมีความสามารถในการปฏิบัติงานส่งผลให้เกิดประสิทธิภาพในการทำงานและมีผล           การปฏิบัติงานที่ดี  สำหรับการพัฒนาทุนมนุษย์ของแต่ละองค์กรธุรกิจเพื่อเสริมสร้างศักยภาพในการแข่งขันต้องเริ่มจากการพัฒนาองค์ความรู้เฉพาะงาน  ทักษะการปฏิบัติงาน  ทัศนคติในการทำงาน และพลังในการขับเคลื่อนงาน  ซึ่งสิ่งสำคัญเป็นสิ่งแรกที่ต้องดำเนินการ เพื่อเปลี่ยนแปลงด้านแรงงานในศตวรรษที่ 21 คือ ผู้ประกอบการต้องเตรียมความพร้อมต่อการเปลี่ยนแปลงของพนักงาน รวมทั้งการปรับเปลี่ยนรูปแบบการทำงาน และออกแบบกระบวนการการพัฒนาทุนมนุษย์ให้สอดรับกับสถานการณ์ที่จะเปลี่ยนแปลงไปตามทิศทางของกระแสสังคมโลก และสังคมรอบข้างได้อย่างเหมาะสม

การพัฒนาทุนมนุษย์ในศตวรรษที่ 21 ขององค์กรธุรกิจที่สำคัญ จำนวน 4 ด้าน คือ 1) ด้านการสร้างความรู้ของพนักงานให้เกิดความเชี่ยวชาญที่หลากหลายด้าน  2) ทักษะในการดำเนินงานเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงอุตสาหกรรมในอนาคต 3) การพัฒนาความคิดความเชื่อและเจตคติในการทำงาน และ 4) การสร้างแรงจูงใจและพลังงานในการขับเคลื่อนงาน

References

กระทรวงอุตสาหกรรม. (2564). แผนแม่บทการพัฒนาอุตสาหกรรมไทย พ.ศ. 2555 - 2574. ค้นเมื่อ12 สิงหาคม 2566, จาก http://www. oie.go.th.

จีระ หงส์ลดารมภ์. (2555). ทุนมนุษย์ของคนไทยรองรับประชาคมอาเซียน. กรุงเทพฯ: เอเชียแปซิฟิคคอนซัลแตนท์

ธนวัฒน์ ศรีไพโรจน์, ดุษฎี โยเหลา และ ปิยดา สมบัติจินดา. (2561). อิทธิพลของโปรแกรมการโค้ชการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานที่มีต่อสมรรถนะของครูผู้สอน. Veridian E-Journal, Silpakorn University, 11(2), 96-110.

นิลาวัลย์ สว่างรัตน์. (2561). การพัฒนาทุนมนุษย์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ของพนักงานอุตสาหกรรมการบินและโลจิสติกส์ในประเทศไทย เพื่อมุ่งสู่อุตสาหกรรมสร้าง สรรค์ที่สมดุลและยั่งยืน. Veridian E-Journal, Silpakorn University, 11(2), 2136-2152.

บริษัทพาร์ทเนอร์ชิพ เซอร์วิส เซ็นเตอร์ แอนด์ แมนเนจเมนท์ จำกัด. (2566). เอกสารประกอบการฝึกอบรมเรื่องรูปแบบสร้างทุนมนุษย์เพื่อยกระดับฝีมือแรงงานสถานประกอบการ. (เอกสารอัดสำเนา).

พรธิดา วิเชียรปัญญา. (2547). การจัดการความรู้: พื้นฐานและการประยุกต์ใช้. กรุงเทพฯ : ธรรมกมลการพิมพ์.

พสุธิดา ตันตราจิณ และคณะ. (2559). ทุนมนุษย์: การจัดการทุนมนุษย์ในศตวรรษที่ 21. วารสารสุทธิปริทัศน์, 30 (พิเศษ), 117-123.

ภวินท์ธนา เจริญบุญและสุวิตา พฤกษอาภรณ์. (2565). การพัฒนาทุนมนุษย์เพื่อเพิ่มขีดความสามารถของวิสาหกิจชุมชนด้วยทุนวัฒนธรรมหลังวิถีใหม่ของจังหวัดสมุทรสงคราม. วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ, 7(5), 398 -415.

วาสนา ศรีอัครลาภ และจิราวรรณ คงคล้าย. (2559). การบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์การแห่งยุคสารสนเทศสู่องค์การยุคใหม่ในอนาคต. Veridian E-Journal, 9(2), 328-338.

สยามรัฐออนไลน์. (2565). กสศ.ขับเคลื่อน “ทุนมนุษย์ไทย” พร้อมก้าวสู่ศตวรรษที่ 21 พัฒนาทักษะ-การเรียนรู้ตลอดชีวิต ประชากรวัยแรงงานด้อยโอกาส. ค้นเมื่อ 12 สิงหาคม 2566, จาก https://siamrath.co.th/n/ 336426.

สุจินต์ พูลบุญ. (2565). การพัฒนาการพัฒนาทุนมนุษย์์ภาครัฐเพื่อการบริหารงานในรูปแบบดิจิทัลของประเทศไทยกับความปกติิใหม่จากสถานการณ์ณ์์การแพร่พร่่ระบาดดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019. วารสารพัฒนศาสตร์, 5(1), 141 – 174.

องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ. (2565). แผนกลยุทธ์การบริหารและพัฒนาทุนมนุษย์ ประจำปี2565 – 2569. ค้นเมื่อ 12 สิงหาคม 2566, จาก https://www.nsm.or.th/ita/

report/2023-04.

อรุณเดช มารัตน์. (2565). การจัดการทุนมนุษย์ของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ.

Berger, A.L. & Berger, R.D. (2004). The Talent Management Handbook: Creating Organizational Excellence by Identifying, Developing, and Promoting Your Best People. New York: McGrew-Hill.

Bateman, T.S. & Snell, S.A. (2014). Management: Leading and Collaborating in a Competitive World (11th Ed). Burr Ridge, IL: McGraw-Hill Higher Education.

Gilley, J. W. & Eggland, S. A. (1989). Principles of Human Resource Development. New York: Addison-Wesley.

Gratton, L. & Ghoshal, S. (2003). Managing personal human capital New ethos for the Volunteer employee. European Management Journal, 21, 1-10.

Mondy, R. W. & Noe, R. M. (2005). Human Resource Management. (9th ed). N.J.: Prentice Hall.

Michaels, E., Helen Handfield-Jones, H. & Beth Axelrod, B. (2001). The War for Talent. Boston: Harvard Business School Press.

Rao, M.S. (2010). Soft Skills - Enhancing Employability: Connecting Campus with Corporate. New Delhi: I. K. International.

Senge, P. M. (1990). The fifth discipline: The art and practice of the learning organization. London : Century Press.

Tarus, B. K. (2014). Effects of Job Rotation Strategy on High Performance Workplace. International Journal of Business and Management, 9(11), 139.

Tay Lee Chin. (2017). Ability, Motivation, Opportunity Enhancing Human Resource Management and Corporate Environmental Citizenship: What’s the Connection?. Global Business and Management Research, 9(1). 299-312

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-08-27