ภาวะผู้นำกับการบริหารองค์กรเชิงธุรกิจในโลกยุคใหม่

ผู้แต่ง

  • กอบชัย เมฆดี คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยีสารสานเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
  • ศศินันท์ ศาสตร์สาระ คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยีสารสานเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

คำสำคัญ:

ภาวะผู้นำ, การบริหารองค์กรธุรกิจ, โลกยุคใหม่

บทคัดย่อ

          ในสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของสังคมในโลกยุคใหม่หรือโลกศตวรรษที่ 21 ซึ่งส่งผลกระทบต่อวิถีการดำรงชีวิตของสมาชิกในสังคมโลกอย่างทั่วถึง เพื่อให้องค์กรเชิงธุรกิจซึ่งเป็นหน่วยหนึ่งของสังคมโลกสามารถดำเนินต่อไปได้ ผู้นำองค์กรจึงต้องมีการปรับตัวเพื่อเตรียมพร้อมรับสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกยุคใหม่และพาองค์กรไปสู่เป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยภาวะผู้นำกับการบริหารองค์กรเชิงธุรกิจในโลกยุคใหม่ ประกอบด้วย 7 คุณลักษณะ ได้แก่ 1) มีคุณธรรมและจริยธรรม 2) สร้างแรงจูงใจ 3) มีวิสัยทัศน์ 4) กล้าตัดสินใจ กล้าคิด พูด ทำ 5) มีทักษะการสื่อสาร 6) ทำงานบรรลุเป้าหมาย และ 7) สร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับทีมงาน อีกทั้งต้องมีความรู้  เท่าทันเทคโนโลยีและสารสนเทศในการสื่อสารต่างๆ รวมถึงทักษะในการเชื่อมความสัมพันธ์กับคนที่มีความหลากหลายและแตกต่างกันไปในสังคมเป็นอย่างดีอีกด้วย ซึ่งเป็นคุณลักษณะที่ส่งผลให้การบริหารงานต่าง ๆ ขององค์กรเป็นไปด้วยความราบรื่นและพร้อมที่จะเผชิญกับสภาพสังคมหรือบริบทที่เปลี่ยนไป ตลอดจนภัยคุกคามต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นอย่างคาดไม่ถึง

References

ธีระ รุญเจริญ. (2557). การบริหารโรงเรียนยุคปฏิรูปการศึกษา. กรุงเทพฯ: ข้าวฟ่าง.

พสุ เดชะรินทร์. (2564). ความกล้าที่จะเปลี่ยนแปลง. จาก https://www.bangkok biznews.com/blogs/columnist/962446

พันธ์ศักดิ์ พลสารัมย์. (2555). เอกสารประกอบการบรรยายวิชาภาวะผู้นำ [เอกสารประกอบการสอน]. กรุงเทพฯ: คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2553). หลักสูตร และการสอน ตามกรอบ TQF ระดับบัณฑิตศึกษา. จาก https://www. tsu.ac.th

_______. (2557). ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21: ต้องก้าวให้พ้นกับดักของตะวันตก. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ยุทธพงษ์ เจริญพันธุ์. (2546). ผู้นำวิวัฒน์ (Evaluationary leadership). กรุงเทพฯ: เอ.อาร์.บิสิเนส เพรส.

วรพจน์ วงศ์กิจรุ่งเรือง และ อธิป จิตตฤกษ์ (2556). ทักษะแห่งอนาคตใหม่: การศึกษาเพื่อศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: Open Worlds.

วัลลภา เทพหัสดิน ณ อยุธยา. (2543). การพัฒนานิสิตนักศึกษา. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.

วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีการสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสดศรี สฤษดิ์วงศ์.

วีระพงศ์ เกียรติไพรยศ. (2560). การประยุกต์ใช้หลักธรรมพระพุทธสาศาสนาในการสร้างภาวะผู้นำของนักบริหาร. ใน รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 4 นานาชาติ ครั้งที่ 2. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น.

สัญชัย สุวังบุตร และคณะ. (2552). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานประวัติศาสตร์สากล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์.

สำเนาว์ ขจรศิลป์. (2554). มิติใหม่ของกิจการนักศึกษา 1: พื้นฐานและบริการการศึกษา. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต.

สุทธิพร จิตต์มิตรภาพ. (2553). การเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง. กรุงเทพฯ: สมาคมเครือข่ายการ พัฒนาวิชาชีพ อาจารย์และองค์กรอุดมศึกษาแห่งประเทศไทย.

สุพจน์ ประไพเพชร, สุพจน์ ประไพเพชร, สราวุฒิ กุลแดง, ราตรี เลิศหว้าทอง และสุดสวาสดิ์ ประไพเพช4. (2566, มกราคม-กุมภาพันธ์). ภาวะผู้นำ: แนวคิด ทฤษฎี และองค์ประกอบ. วารสารครุศาสตร์ปัญญา, 2(1), 59-73. จาก https://so06.tci-thaijo.org/index.php/IEJ/article/view/ 263131/176424

สุพรรณี ชะโลธร, และ เกษมวัฒน์ เปรมกมล. (2553). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานประวัติศาสตร์. กรุงเทพฯ: ประสานมิตร.

Allen, K. E., Bordas, J., Hickman, G., Matusak, L. R., Sorenson, G., & Whitmire, K. (2012). Leadership in the Twenty-first Century. New York: Warner Books.

Baird, K. (2006). Skills of an Effective Administrator. Harvard: Harvard Business Review.

Canton, J. (2006). The extreme future: The top trends that will reshape the world in the next 20 years. New York: Penguin.

Coughlin, D. (2005). Corporate Catalysts: How To Make Your Company More Successful, Whatever Your Title, Income, or Authority. Virginia: Career Press.

Dimmock, C., & Walker, A. (2013). Globalisation and societal culture: Redefining schooling and school leadership in the twenty-first century. Compare: A Journal of Comparative and International Education, 30(3), 303-312.

Kinicki, A., Williams, B. K., Scott-Ladd, B. D., & Perry, M. (2011). Management: A practical introduction. Chicago: McGraw-Hill Irwin.

Kouzes, J. M., & Posner, B. Z. (2023). The leadership challenge: How to make extraordinary things happen in organizations. San Francisco: John Wiley & Sons.

Krames, J. A. (2014). Jack Welch and the 4E’s of leadership: how to put GE’s leadership formula to work in your organization. New York: McGraw-Hill.

Lautzenheiser, T. (2009). The selection and development of effective student leaders. from https://musicforall.org/programs/gn/downloads/.selectionpdf

National Aeronautics and Space Administration(NASA). (2014). NASA’s Leadership. from https://www.leadership.nasa.gov/Model/Overview.htm

Perreault, G., & Zellner, L. (2012). Social Justice, Compettition and quality: 21st Century Leadership Challenges. Texas: National Council of Professors of Educational Administration.

Schultz, P. D., & Schultz, S. E. (2001). Psychology and work today: An introduction to industrial and organizational psychology. (7th ed.). New Jersey: Prentice Hall.

Weidman, D. (2002). Executive perspective: Redefining leadership for the 21st century. Journal of Business Strategy, 23(5), 16-18.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-08-27