นักศึกษา 4.0 กับการเพิ่มพูนคุณธรรมจริยธรรม

ผู้แต่ง

  • แสงจิตต์ ไต่แสง สาขาวิชาบริหารธุรกิจ, คณะวิทยาการจัดการ, มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
  • ภัทรนันท สุรชาตรี สาขาวิชาบริหารธุรกิจ, คณะวิทยาการจัดการ, มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

คำสำคัญ:

เพิ่มพูน, คุณธรรม, จริยธรรม, นักศึกษา 4.0

บทคัดย่อ

นักศึกษาหรือเยาวชน 4.0 คือรากฐานสำคัญของการพัฒนาประเทศ ดังนั้นการส่งเสริมศักยภาพของนักศึกษา ในด้านคุณธรรมและจริยธรรมจึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะต้องปลูกฝังให้นักศึกษาได้ตระหนักรู้  โดยเรียนรู้ผ่านสถานการณ์   ต่าง ๆ ด้วยตนเอง การเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง การเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของสังคมเพื่อเรียนรู้จากสถานการณ์จริงเพื่อปรับทัศนคติแนวคิดที่แตกต่างออกไป บนพื้นฐานของหลักคุณธรรมจริยธรรมและความถูกต้อง ให้เป็นไปตามทักษะ               การเรียนรู้ตามแนวคิดคุณลักษณะของเยาวชนในศตวรรษที่ 21 ใน 1) ด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะใน              การแก้ปัญหา 2) ด้านการสร้างสรรค์และนวัตกรรม 3) ด้านความเข้าใจและความต่างวัฒนธรรมต่างกระบวนทัศน์                  4) ด้านทักษะความร่วมมือการทำงานเป็นทีมและภาวะผู้นำ  5) ด้านการสื่อสารสารสนเทศและรู้เท่าทันสื่อ 6) ด้านคอมพิวเตอร์และด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 7) ด้านทักษะอาชีพและทักษะการเรียนรู้ และ 8) ด้านการมีคุณธรรมจริยธรรม มีเมตตากรุณา มีระเบียบวินัย การเรียนรู้ทักษะเหล่านี้จะส่งผลให้นักศึกษาสามารถแยกแยะสิ่งถูกผิดได้ด้วยตนเอง โดยใช้เหตุและผล ใช้ความถูกต้องเป็นที่ตั้งในการตัดสินใจได้ว่าสิ่งใดควรทำหรือไม่ควรทำ

References

จิรภา คำทาและสมบัติ วรินทรนุวัตร. (2559, พฤษภาคม-สิงหาคม.). การศึกษาคุณธรรมและจริยธรรมของนักศึกษา คณะบริหารธุรกิจ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย สาขามนษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ, 9(2),

ดวงเดือน พันธุมนาวิน. (2554). การใช้งานวิจัยนำงานพัฒนาบุคลากรในองค์การ. วารสารการ พัฒนาทรัพยากรมนุษย์และองค์การ, 3 (2), 4-7.

ดิเรก พรสีมา. (2559, 4 พฤศจิกายน). ครูไทย 4.0. มติชนออนไลน์. ค้นเมื่อ 7 พฤศจิกายน 2563,จาก https://www.matichon.co.th/news/345042.

ปิยนันท์ สวัสดิ์ศฤงฆาร. (2556). รูปแบบการพัฒนาคุณธรรมในองค์กร. ค้นเมื่อ 22 มิถุนายน 2562, จาก http://oknation.nationtv.tv/blog/piyanan/013/12/01/entry-1.

พระสำราญ ปภสฺสโร และอำนาจ บัวศิริ. (2559,กันยายน-ธันวาคม.). การพัฒนาคุณธรรม เยาวชนรุ่นใหม่. วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์, 3(3),

พรนิภา จันทร์น้อย และคณะ. (2559, ตุลาคม-ธันวาคม). แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมนักศึกษาสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในจังหวัดเชียงใหม่. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยฟาร์อิสเทอร์น, 10 (4), .

พนอม แก้วกำเนิด. (2552, เมษายน - มิถุนายน). การเสริมสร้างคุณธรรมให้ปฏิบัติได้อย่างยั่งยืน. จุลสารสำนักงาน ป.ป.ช. สุจริต, 9(31)

ไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2559). การศึกษาไทย 4.0 เป็นยิ่งกว่าการศึกษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วิจารณ์ พานิช. (2556). การสร้างการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสยามกัมมาจล.

สุรยุทธ์ จุลานนท์. (2550). การเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และธรรมมาภิบาลในสังคมไทย. ใน ปาฐกถาพิเศษในการประชุมสัมมนาทางวิชาการประจำปีครบรอบ 52 ปี คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

สำนักงาน ก.พ. (2555). คู่มือการพัฒนาและส่งเสริมการปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมข้าราชการพลเรือน. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน.

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2559). สภอ.พัฒนาพัฒนานักศึกษาสู่ Thailand 4.0. อนุสารอุดมศึกษา, 43(462), 11-13.

อนิวัช แก้วจำนงค์. (2556). จริยธรรมทางธุรกิจ (พิมพ์ครั้งที่ 2). สงขลา : นำศิลป์โฆษณา.

อ้อมเดือน สดมณีและฐาศุกร์ จันประเสริฐ. (2554, มกราคม). การพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม : จากแนวคิดสู่แนวทางการปฏิบัติ. วารสารพฤติกรรมศาสตร์, 17(1),

Ajzen, I. & Fishbein, M. (1980). Understan-ding attitudes and predicting social behavior. Englewood Cliffs, New Jersey: Prentice-Hall.

Crain, W.C. (1985). Theory of Development. New Jersey: Prentice Hall.

Kant, I. (1970). Critique of Pure Reason. London: Macmillan

Kohlberg, L. (1976). Moral Stages and Moralization: The Cognitive-Development Approach. In Lickona, T. (Ed.). Moral Development and Behavior: Theory and Research and Social Issues (pp. 31-53). New York, NY:

McClelland, D. C. (1963). Motivational patterns in Southeast Asia with special reference to the Chinese case. Journal of Social Issues, 19(1), 6-19.

Piaget, J. (1971). The Theory of Stages in Cognitive Development. In Green, D.R. (Ed.). Measurement and Piaget. New York: McGraw-Hill.

Piaget, J. (1997). Equilibration of Cognitive Structures. New York: Viking Press.

Rotter, J. B. (1966). The Development and Application of Social Learning Theory. New York: Prager.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-12-27