การเพิ่มมูลค่าตราสินค้าโดยใช้ตราสัญลักษณ์และเครื่องมือทางการค้า

ผู้แต่ง

  • นฤมล ญาณสมบัติ สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการค้าสมัยใหม่ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
  • เจนวิชญ์ ทองอ่อน สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการค้าสมัยใหม่ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

คำสำคัญ:

มูลค่าตราสินค้า, ตราสัญลักษณ์, เครื่องมือทางการค้า

บทคัดย่อ

          ตราสินค้า คือ ภาพลักษณ์หรือความคาดหวังที่ผู้บริโภคมีต่อผลิตภัณฑ์หรือบริการทั้งหมดขององค์กร เป็นเรื่องของการสร้างประสบการณ์เฉพาะที่เป็นเอกลักษณ์ช่วยให้ผู้บริโภคแยกแยะและจดจํา เข้าถึงและสร้างความประทับใจผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าตราสินค้าสูงแสดงให้เห็นว่าผลิตภัณฑ์นั้นมีความยั่งยืน ผู้บริโภคมีความเชื่อมั่นและยอมรับในคุณภาพนําไปสู่ความภักดีในตราสินค้ามีการแนะนําบอกต่อในทางที่ดีทําให้ธุรกิจเกิดการประหยัดในการส่งเสริมการตลาด การปรับตัวเข้าสู่ E-Commerce ล้วนนําเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ ความน่าเชื่อถือบนโลกออนไลน์ เมื่อผู้บริโภคเห็นก็จะเกิดความมั่นใจในการซื้อสินค้าหรือบริการ การเพิ่มตราสัญลักษณ์จากหน่วยงานที่ได้รับการยอมรับในระดับสากล ในตราสินค้าถือเป็นเครื่องมือที่จะช่วยทําให้ผลิตภัณฑ์มีความน่าเชื่อถือยิ่งขึ้นเพราะถือเป็นการรับประกันคุณภาพของสินค้าอาทิ เช่น ตราสัญลักษณ์สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์(GI) เครื่องหมายแสดงการจดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ตราสัญลักษณ์ Thailand Trust Mark รางวัลสินค้าไทยที่มีการออกแบบดี DEmark ตรารับรองมาตรฐานสินค้าอินทรีย์ล้วนเป็นการยกระดับเพิ่มความเชื่อมั่นให้ผู้ประกอบการและผู้บริโภค

References

กรมทรัพย์สินทางปัญญา. (2563) วิธีการขึ้นทะเบียนสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์. ค้นเมื่อ 17 มกราคม 2564 จาก https://www.ipthailand.go.th/images/781/GI_final1.pdf

กรมพัฒนาธุรกิจการค้า (DBD) กระทรวงพาณิชย์ . (2562). คู่มือการจดทะเบียนพาณิชย์ประกอบพาณิชยกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์. ค้นเมื่อ 17 มกราคม 2564 จาก https://www.dbd.go.th/download/ ecommerce_file/pdf/e-commerce _manual_570428.

กรมพัฒนาธุรกิจการค้า (DBD) กระทรวงพาณิชย์. (2561) คู่มือการพัฒนามูลค่าเพิ่ม(Value Creation Handbook) . ค้นเมื่อ 17 มกราคม 2564 จาก https:// drive.google .com/file/d/0B780QAWO _8EMWEpBaFRkZmpwVkU/view

กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม. (2563) การสร้างตราสินค้า. ค้นเมื่อ 17 มกราคม 2564 จาก https://bsc.dip.go.th/th/category/sale- marketing/sm-buildingtrademark

กิสิษา นุ่มนวล. (2563). การสร้างมูลค่าและตราสินค้าข้าว. ค้นเมื่อ 17 มกราคม 2564 จากhttp://brpe.ricethailand.go.th/images/PDF/smart_farmer_model_60/kisisa.pdf

ชลธิศ ดาราวงษ์. (2558). การจัดการผลิตภัณฑ์และการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่. กรุงเทพฯ: ธนาเพรส.

ณัฐพล ใยไพโรจน์. (2561). Digital Branding :กลยุทธ์แจ้ง เกิดแบรนด์เล็ก ให้เติบใหญ่ได้อย่างยั่งยืน. นนทบุรี: ไอดีซีฯ.

_______. (2562). Digital Marketing (6th Ed). นนทบุรี: ไอดีซีฯ.

ธวัชชัย สุวรรณสาร. (2563). การสร้างมูลค่าให้กับ แบรนด์ ที่ง่าย และได้ผลที่สุด ใครก็ทำได้. ค้นเมื่อ 17 มกราคม 2564 จาก http://www.coachtawatchai.org/2017/06/blog-post_12.html

ปฐมาพร เนตินันทน์.(2554).การสังเคราะห์กระบวนการและกลยุทธ์การสร้างตราสินค้า The Synthesis of Branding Process & Strategic Branding. ค้นเมื่อ 19 มกราคม 2564 จาก https://www.bu.ac.th/knowledgecenter/executive_journal/april_june_11/pdf/aw5.pdf

รติมา คชนันทน์. (2558). สร้างตราสินค้า รุกตลาด AEC. ค้นเมื่อ 17 มกราคม 2564 จากhttp://www.parliament.go.th/library

ศูนย์การเรียนรู้นวัตกรรมลดโลกร้อนนวชีวัน. (2564). ตรารับรองมาตรฐานสินค้าอินทรีย์ที่ควรรู้จัก. ค้นเมื่อ 17 มกราคม 2564 จาก http://www.nawachione.org

สุวีณา ดั่งโพธิสุวรรณ และพิทักษ์ ศรีสุกใส. (2557). การจัดการผลิตภัณฑ์และราคา(ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2). นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

Wind Mill. (2563). ส่อง 5 เทรนด์ธุรกิจการตลาด 2021 ปีที่ธุรกิจต้องไปต่อหลังฝ่า Waves of plague. ค้นเมื่อ 17 มกราคม 2564, จาก https://brandinside.asia/5-trend-business-marketing-2021/

David Ogilvy. (2014). 7 Branding Lessons From David Ogilvy. Retrieved 2021, 5 January. from https://geekopedia.me/management/7-branding-lessons-david-ogilvy

Aaker, D. A. (1996). Measuring brand equity across products and markets. California. Management Review, 38(3). 102-120.

Keller, K. L. (1993). Conceptualization, measuring, and managing customer-based brand equity. Journal of Consumer Marketing, 57(1), 1-22.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-12-09