แนวคิดอัตลักษณ์กับงานวิจัยสื่อสารศึกษาของไทย ปี พ.ศ.2548-2565

Main Article Content

คมสัน รัตนะสิมากูล
อัญมณี ภักดีมวลชน

บทคัดย่อ

บทความทางวิชาการนี้เป็นการวิเคราะห์แนวคิดอัตลักษณ์กับงานวิจัยสื่อสารศึกษาของไทย ในปี พ.ศ.2548-2565 โดยได้วิเคราะห์งานวิจัยทั้งหมดจำนวน 56 เรื่อง ในช่วงระยะเวลา 17 ปี ใช้วิธีการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง และเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยใช้เกณฑ์งานวิจัยที่ปรากฏอยู่ในระบบฐาน TDC หรือ Thai Digital Collection ที่เป็นฐานข้อมูลจากสำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษากระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม วิเคราะห์ข้อมูลแบบสร้างข้อสรุป ใช้การวิเคราะห์โดยการจำแนกชนิดข้อมูล (typological analysis) จากการวิเคราะห์ทำให้สามารถจำแนกงานวิจัยสื่อสารศึกษาของไทย โดยเน้นประเด็นเกี่ยวกับประสบการณ์ชีวิต อุดมการณ์ สำนึก กฎเกณฑ์ พิธีกรรม ซึ่งสามารถออกมาได้เป็น 5 กลุ่ม ดังนี้ 1) อัตลักษณ์ของปัจเจกบุคคล: บุคลิกภาพและรสนิยมเฉพาะตัว เป็นอัตลักษณ์ที่มีการประกอบสร้างผ่านตัวตนของตนเอง 2) อัตลักษณ์ของกลุ่มคนในช่วงอายุต่าง ๆ: การต่อสู้ระหว่างความคาดหวังของสังคมกับโลกความเป็นจริง 3) อัตลักษณ์กลุ่มวัฒนธรรมย่อย: พื้นที่แสดงตัวตนของคนที่แตกต่าง 4) อัตลักษณ์ชุมชนและเชื้อชาติ: ประกอบสร้างจากภูมิประเทศ บุคลิกภาพ บทเพลงและอาหาร และ 5) อัตลักษณ์ของสื่อ: รูปแบบและเนื้อหาที่แตกต่าง

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กาญจนา แก้วเทพ. (2555). สื่อเก่า-สื่อใหม่: สัญญะ อัตลักษณ์ อุดมการณ์. พิมพ์ลักษณ์.

กาญจนา แก้วเทพ และ สมสุข หินวิมาน. (2551). สายธารแห่งนักคิดทฤษฎีเศรษฐศาสตร์การเมืองกับการสื่อสาร. ภาพพิมพ์.

กฤชณัท แสนทวี. (2552). ลำพวน: การวิเคราะห์การสื่อสารกับการสืบทอดอัตลักษณ์ชาวไทยพวน อำเภอบ้านหมีจังหวัดลพบุรี [วิทยานิพนธ์วารสารศาสตรมหาบัณฑิต (สื่อสารมวลชน)]. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

กฤษณ์ ทองเลิศ และ นฤนาถ ไกรนรา. (2553). การสื่อสารอัตลักษณ์ชุมชนปายผ่านสื่อโปสต์การ์ด. วารสารนิเทศศาสตร์ มสธ., 1(2), 1-12.

กิตติพงษ์ ราชเกษร. (2558). การสื่อสารอัตลักษณ์ทางการเมืองของวัยรุ่นบน facebook [วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต(สื่อสารมวลชน)].มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

กุลวิชญ์ สำแดงเดช. (2551). การใช้สื่อเพื่อสร้างและธำรงรักษาอัตลักษณ์ของแฟนสโมสรฟุตบอล จังหวัดชลบุรี [วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

กำจร หลุยยะพงศ์. (2553). อัตลักษณ์และความสามารถทางการสื่อสารของแกนนำชมรมผู้สูอายุ ต.โพธิโทรงาม จ.พิจิตร. วารสารนิเทศศาสตร์ มสธ, 1(1), 73-94.

กำจร หลุยยะพงศ์ และ กาญจนา แก้วเทพ. (2553). การประกอบสร้างอัตลักษณ์ของผู้สูงอายุในหนังไทย. วารสารนิเทศศาสตร์ มสธ., 1(2), 13-23.

กังวาฬ ฟองแก้ว. (2550). การรับรู้อัตลักษณทางเพศจากการบริโภคสื่อมวลชนของกลุ่มแกนนำเยาวชนในจังหวัดชียงใหม่ [วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยแม่โจ้.

ขัตติยา ชาญอุไร. (2548). บทบาทของนิตยสารทางเลือกในการสื่อความหมายเชิงอัตลักษณ์วัยรุ่น [วิทยานิพนธ์วารสารศาสตรมหาบัณฑิต(สื่อสารมวลชน)]. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

เขมทัต พิพิธธนาบรรพ์. (2551). การแต่งคอสเพลย์ของกลุ่มวัยรุ่นไทย กับการสร้างอัตลักษณ์วัฒนธรรมย่อยและบทบาททของสื่อ [วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

จอมพล เจริญยิ่ง. (2554). การสื่อสารอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช [วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

จิราวรรณ นันทพงศ์. (2552). บทบาทของการสื่อสารกับการสร้างและนำเสนออัตลักษณ์ของกลุ่มวัฒนธรรมย่อยนักเต้นบีบอยในประเทศไทย[วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

จีรนันท์ พหลโยธิน. (2560). การสื่อสารเพื่อธำรงอัตลักษณ์แฟนคลับฟุตบอลไทย [วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.กรุงเทพ.

จุฑาพรรธ์ (จามจุรี) ผดุงชีวิต. (2551). วัฒนธรรม การสื่อสารและอัตลักษณ์. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ฐิตินันท์ บุญภาพ คอมมอน. (2554). เพลงและอัตลักษณ์วัฒนธรรมชุมชน: จรัล มโนเพ็ชร กับบทบาทของนักรบทางวัฒนธรรมดนตรีล้านนา. วารสารนิเทศศาสตร์ธุรกิจบัณฑิต, 6(2), 145-179.

ฉันท์ชนิด เจริญรุ่งรัตน์. (2557). อัตลักษณ์ของเด็กไทยที่ปรากฏในภาพยนตร์ไทยที่มีตัวละครหลักเป็นเด็ก [วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (สื่อสามวลชน)]. มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ฉันตรีญาณ์ ทวีทุน. (2554). อัตลักษณ์ผี และความคิดเห็นของวัยรุ่นที่มีต่ออัตลักษณ์ผีในสื่อภาพยนตร์ไทย. มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

ณฐมน บัวพรมมี. (2550). การใช้สื่อพิธีกรรมแซงซะนามเพื่อเสริมสร้างอัตลักษณ์ศักดิ์ศรีชาวไทโล้ บ้านโพนจาน อำเภอโพนสวรรค์ จังหวัดนครพนม [วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ณัฏฐธิดา จันเทร์มะ. (2554). การสร้างอัตลักษณ์อีสานผ่านภาพยนตร์สั้นในเทศกาลภาพยนตร์อีสาน [วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ทัศนาวดี แก้วสนิท. (2553). การสื่อสารเพื่อธำรงรักษาอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของชุมชนชาวมาเลเซียเชื้อชาติไทยในรัฐเคดาห์ ประเทศมาเลเซีย [วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ธานี ชื่นค้า. (2555). ศึกษาอัตลักษณ์ของเกย์ในสื่อภาพยนตร์ไทย. มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

ธิดารัตน์ ไร่วิบูลย์. (2552). การสร้างอัตลักษณ์และกระบวนการสร้างความสัมพันธ์ ผ่าน www.bloggang.com. มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

นภาพร หงส์ทอง. (2547). อัตบุคคลในทัศนะของฌากส์ ลากอง [วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

นิลิณี หนูพินิจ. (2551). ภาพยนตร์ไทยกับการสร้างอัตลักษณ์ชุมชนภาคใต้ [วิทยานิพนธ์วารสารศาสตรมหาบัณฑิต (สื่อสารมวลชน)]. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

นันทิยา พุทธาโภคาทรัพย์. (2548). การสร้างอัตลักษณ์ของนักออกแบบเสื้อผ้าผู้หญิงสตรีวัยรุ่น [วิทยานิพนธ์วารสารศาสตรมหาบัณฑิต (สื่อสารมวลชน)]. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

นาวิน เพิ่มประยูร. (2562). การสื่อสารเชิงสร้างสรรค์เพื่อสร้างอัตลักษณ์ส่วนบุคคลผ่านเฟซบุ๊กแฟนเพจ [วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

บุญญเลขา มากบุญ. (2560). อัตลักษณ์นักท่องเที่ยวโดยการปั่นจักรยาน(รายงานวิจัย). มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี.

เบญจวรรณ สุพันอ่างทอง. (2554). การใช้อัตลักษณ์ในการประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวของจังหวัดอุดรธานี. มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

ปรวรรณ ทรงบัณฑิตย. (2549). นิตยสารต้าเจียห่าวกับการนำเสนออัตลักษณ์จีน-สยาม [วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2547). การสร้างและสืบทอดอัตลักษณ์ของกลุ่มขาติพันธุ์ม้ง. ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน).

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย. (2561). อัตลักษณ์ของเพลงอีสานประยุกต์ในยุคอีสานใหม่ [วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ปริศญา คูหามุข และ ธาตรี ใต้ฟ้าพูล. (2563). การสื่อสารอัตลักษณ์ความเป็นไทยผ่านการเป็นเจ้าภาพการประกวดมิสยูนิเวิร์ส 2018 ณ ประเทศไทย. วารสารธรรมศาสตร์, 39(1), 159-182.

ปรียาณี ทู้ไพเราะ. (2552). การสื่อสารภายในชุมชนลาวพวนในการธำรงรักษาอัตลักษณ์ประเพณีบุญกำฟ้า [วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เปรมปรีดา ปราโมช ณ อยุธยา. (2546). การช่วงชิงอัตลักษณ์ กระเทย ในงานคาบาเรต์โชว์. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

พรชนก พงค์ทองเมือง. (2555). การสร้างและการสื่อสารอัตลักษณ์ประเพณีบุญเดือนสิบ จังหวัดนครศรีธรรมราช [วิทยานิพนธ์ นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมมาธิราช. https://opac01.stou.ac.th/cgi-bin/koha/opac-detail

พัทร์ศรัณย์ ตนานุประวัติ. (2552). การสื่อสารเพื่อสร้างและธำรงรักษาอัตลักษณ์ของกลุ่มผู้นิยมแนวดนตรีฮาร์ดคอร์ในประเทศไทย [วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ภรัณ ปักษานนท์. (2553). อัตลักษณ์ของนักแสดงนำภาพยนตร์ไทยกับความสำเร็จในอาชีพ [วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ภัทราวดี หงษ์เอก. (2564). การสื่อสารเพื่อต่อรองอัตลักษณ์ของกลุ่มแฟนคลับเกาหลีบนพื้นที่สังคมออนไลน์ [วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (นิเทศศาสตร์และนวัตกรรม)]. สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

มนูญ โต๊ะอาจ. (2554). การเรียนรู้และการสื่อสารอัตลักษณ์ความเป็นมุสลิมของมุอัลลัฟในเขตชุมชนเมืองและชุมชนชนบทของไทย [วิยานิพนธ์นิเทศศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

มาลินี จงสำราญ. (2555). แบบแผนพฤติกรรมการเปิดรับซีรีย์อเมริกันและอัตลักษณ์ของกลุ่มผู้ชมไทย [วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

มัทนา เจริญวงศ์. (2551). การประกอบสร้างความหมายเกี่ยวกับอัตลักษณ์ทางเพศของตัวละครเควียร์ในภาพยนต์: กรณีศึกษา Hedwig and the angry inch. วารสารวิทยาสารเกษตรศาสตร์ สาขาสังคมศาสตร์, 29(1), 26-41.

รับขวัญ สุริยะวรรณ. (2556). อัตลักษณ์ของนิตยสารแจกฟรีปาธโซะ [ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยแม่โจ้.

เรืองฟ้า บุราคร. (2550). การสื่อสารกับการสร้างอัตลักษณ์ “กะเทย” ในพื้นที่คาบาเร่ต์โชว์ [วิทยานิพนธ์วารสารศาสตรมหาบัณฑิต (สื่อสารมวลชน)].มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

วรพงษ์ ปลอดมูสิก. (2561). การสื่อสารอัตลักษณ์ความงามผ่านกิจกรรมการประกวดมิสแกรนไทยแลนด์. มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

วรรณสม สีสังข์. (2555). อัตลักษณ์ของนิตยสารที่เป็นกิจการเพื่อสังคม: บีแมกกาซีน [วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วาลี ขันธุมาร. (2548). การสร้างอัตลักษณ์ของรายการเรียลลิตี้โชว์โทรทัศน์ไทย. วารสารมนุษย์สังคมศาสตร์, 23(1), 127-140.

วิไลลักษณ์ คำแจ่ม. (2561). อัตลักษณ์และการสื่อสารเพื่อสร้างการยอมรับของผู้บริหารหญิงในองค์กรไทย [วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วิริยา วิฑูรย์สฤษฎ์ศิลป์. (2548). การศึกษาอัตลักษณ์คนชั้นกลางไทยผ่านการเล่าเรื่องในสื่อหนังสือบันทึกการเดินทาง [วิทยานิพนธ์วารสารศาสตรมหาบัณฑิต (สื่อสารมวลชน)]. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

วีราพร วัชรพงศ์ชัย. (2550). อุดมการณ์ต่อสู้ทางเพศในหนังสือการ์ตูนญี่ปุ่นสำหรับผู้หญิงกับการสร้างอัตลักษณ์ทางเพศของวัยรุ่นหญิงไทย [วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วุฒินันท์ สุนทรจิต. (2551). ร้านอาหารญี่ปุ่นสมัยใหม่ : พื้นที่การสื่อสารความหมายอัตลักษณ์และความเป็นญี่ปุ่น [วิทยานิพนธ์วารสารศาสตรมหาบัณฑิต (สื่อสารมวลชน)]. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ศราณี เวศยาสิรินทร์, วิทยาธร ท่อแก้ว, สุภาภรณ์ ศรีดี, และ พิทยา บุษรารัตน์. (2562). การสร้างอัตลักษณ์คนใต้ผ่านหนังตะลุง [วิทยานิพนธ์ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ศิริพร วุฒิกุล. (2549). กลยุทธ์การสื่อสารอัตลักษณ์ของชาติในโครงการรณรงค์ทางการท่องเที่ยวของประเทศไทยและประเทศมาเลเซีย [วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ศุภกร ศรีสงคราม. (2551). การประชาสัมพันธ์อัตลักษณ์วัฒนธรรมวัดพระศรีรัตนศาสดาราม (วัดพระแก้ว) ผ่านสื่อสิ่งพิมพ์. มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

สมศักดิ์ ปัญจศีล. (2553). การสื่อสารอัตลักษณ์ของชายรักชายในการประกวดนางงามประเภทสอง : Miss ACDC [วิทยานิพนธ์วารสารศาสตรมหาบัณฑิต (สื่อสารมวลชน)]. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สมสุข หินวิมาน. (2548). เครือข่ายการสื่อสารกับศักยภาพการดำรงอยู่ของชุมชนศึกษากรณี ต.ทุ่งขวาง อ.พนัสนิคม จ.ชลบรี. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

สมสุข หินวิมาน. (2551). สายธารแห่งนักคิดทฤษฎีเศรษฐศาสตร์การเมืองกับการสื่อสาร. ภาพพิมพ์.

สุกัญญา บุญแล. (2552). การสื่อสารอัตลักษณ์กับการบริโภคสื่อโปสการ์ดท่องเที่ยว[วิทยานิพนธ์วารสารศาสตรมหาบัณฑิต (สื่อสารมวลชน)]. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สุกัญญา เบาเนิด. (2549). การสร้างอัตลักษณ์ของคนมอญย้ายถิ่น: ศึกษากรณีแรงงานข้ามชาติในจังหวัดสมุทรสาคร [วิทยานิพนธ์มานุษยวิทยามหาบัญฑิต]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุจิตรา เปลี่ยนรุ่ง. (2553). การสื่อสารเพื่อสร้าง ธำรงรักษา และต่อรองอัตลักษณ์ความเป็นมอญของกลุ่มชาวมอญพลัดถิ่นในประเทศไทยท่ามกลางกระแสโลกาภิวัตน์ [วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรดุษฎีบัณฑิต]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุภาณี ยาตรา. (2548). การแสดงอัตลักษณ์ทางเพศสภาพของกลุ่มหญิงรักหญิงผ่านสื่อเว็บไซต์ในสังคมไทย. มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

สุนิสา ชมอินทร์. (2548). การสื่อสารเพื่อสร้างอัตลักษณ์ของหมอช้างชาวกูยจังหวัดสุรินทร์. มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

สุวิมล เวชวิโรจน์. (2552). การสื่อสารอัตลักษณ์กับการแต่งกายของชาวไทยโซ่ง อำเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี [วิทยานิพนธ์วารสารศาสตรมหาบัณฑิต (สื่อสารมวลชน)]. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สุทนี ผาวิจิตร. (2554). อัตลักษณ์ของนายเฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ [วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

อรอุษา บัวบาน และ บุหงา ชัยสุวรรณ. (2565). กระบวนการสร้างอัตลักษณ์และการสื่อสารอัตลักษณ์ของผู้หญิงที่แต่งกายด้วยผ้าไทยทอมือบนสื่อสังคมออนไลน์เฟซบุ๊ก. Journal of Modern Learning Development, 7(11),11-19.

เอกลักษณ์ จารุกิจไพศาล. (2557). การแสดงอัตลักษณ์ของร้านอาหารอีสาน: กรณีศึกษาร้านอาหารอีสานในเขตกรุงเทพมหานคร [วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (สื่อสารมวลชน)]. มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

โอห์ม สุขศรี. (2549). การสื่อสารผ่านเว็บไซต์กับการสร้างอัตลักษณ์และสัญญะของกลุ่มแฟนคลับฟุตบอลต่างประเทศ กรณีศึกษา: เรดอาร์มีแฟนคลับ.มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

Barber, C. J. (1975). Searching for identity. Moody.

Berryman, G. (1979). Notes on graphic design and visual communication. Crisp Publication.

Hall, S. (1980). Culture, media, language: Working papers in cultural studies (1972-1979). Hutchinson.

Hall, S., & Du Gay, P. (Eds.). (1996). Questions of cultural identity. Sage Publications Inc.

McCall, G. J., & Simmons, J. L. (1978). Identities and interactions (Rev. ed.). Free Press.

Jenkins, R. (2004). Social identity. Routledge.