บุคลิกภาพที่ส่งผลต่อความเป็นพลเมืองดิจิทัลมิติด้านการสื่อสาร และมิติด้านมารยาทดิจิทัลของกลุ่มวัยรุ่นและวัยทำงาน ในเขตพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่

Main Article Content

อัญมณี ภักดีมวลชน

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาความเป็นพลเมืองดิจิทัล
มิติด้านการสื่อสารดิจิทัล และมิติด้านมารยาทดิจิทัลของกลุ่มวัยรุ่นและวัยทำงาน 2) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบลักษณะความเป็นพลเมืองดิจิทัล
มิติด้านการสื่อสารดิจิทัลและมิติด้านมารยาทดิจิทัลของกลุ่มวัยรุ่นและวัยทำงาน และ 3) เพื่อศึกษาอิทธิพลของลักษณะประชากรศาสตร์ พฤติกรรมการเปิดรับเทคโนโลยีดิจิทัล และบุคลิกภาพกับความเป็นพลเมืองดิจิทัล มิติด้านการสื่อสารดิจิทัล และมิติด้านมารยาทดิจิทัลของกลุ่มวัยรุ่นและวัยทำงาน ผู้วิจัยใช้วิธีวิจัยเชิงปริมาณโดยวิธีเชิงสำรวจด้วยวิธีการเก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่างกลุ่มวัยรุ่นและวัยทำงาน จำนวน 400 คน ในเขตพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ ผลการวิจัยพบว่า 1) ระดับความความเป็นพลเมืองดิจิทัล มิติด้านการสื่อสารดิจิทัล และมิติด้านมารยาททางดิจิทัล ค่าเฉลี่ยรวมอยู่ในระดับมาก ( = 3.58
, S.D.=0.59) 2) กลุ่มวัยรุ่นและกลุ่มวัยทำงานมีลักษณะความเป็นพลเมืองดิจิทัล มิติด้านการสื่อสารดิจิทัลและมิติด้านมารยาทดิจิทัลไม่แตกต่างกัน (t=1.585, sig=.209) และ 3) ความพึงพอใจในการใช้สื่อดิจิทัล บุคลิกภาพด้านการควบคุมตนเอง การศึกษา และประสบการณ์ในการเปิดรับสื่อ (ปี) มีอิทธิพลต่อความเป็นพลเมืองดิจิทัล มิติด้านการสื่อสารดิจิทัล และมิติด้านมารยาทดิจิทัลของกลุ่มวัยรุ่นและวัยทำงาน (R2=13.00)

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์. (2564). ผลสำรวจสถานการณ์การรู้เท่าทันสื่อ สารสนเทศ และดิจิทัลของประชาชนไทย ปี พ.ศ. 2563 – 2564. https://shorturl.asia/F57KO

กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับการศึกษา. (2553). กรอบมาตรฐานคุณวุฒิการศึกษามุ่งเน้นการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี. www.iccs.ac.th/departmentsub.php?department_sub_id=5

คณะกรรมการการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2560). ยุทธศาสตร์ ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2561-2580). กรุงเทพฯ : คณะกรรมการการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.

เด็กไทยทันสื่อ. (2560). ทันสื่อ ICT. http://www.inetfoundation.or.th

จีระพรรณ สุศิริภัทรพงศ์, ชรินทร์ มั่งคั่ง, และ จารุณี ทิพย์มณฑล. (2563). ทักษะพลเมืองดิจิทัลของนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่. วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ. 5(4), 206-219.

พจนานุกรมศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีดิจิทัล ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. (2546).ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีดิจิทัล (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ :ราชบัณฑิตยสถาน.

ภูเบศร์ สมุทรจักร. (2561). พิทักษ์เด็กพิทักษ์อนาคตชาติด้วยสังคมก้มหน้าได้จริงหรือ?. https://www.ffc.or.th/home/workstory/2561/workstory_ 2561_08_15_2.php

วรพจน์ วงศ์กิจรุ่งเรือง. (2561). คู่มือพลเมืองดิจิทัล. สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม.

วรรณากร พรประเสริฐ. (2562). การพัฒนาแบบวัดและเกณฑ์ปกติความเป็นพลเมืองดิจิทัลของนิสิตนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา. [วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษาดุษฎีบัณฑิต] มหาวิทยาลัยนเรศวร.

วรรณกร เพชรด้วง. (2558). อิทธิพลของบุคลิกภาพและการขัดเกลาทางสังคมที่มีต่อความสามารถในการฟันฝ่าอุปสรรคของนักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัยวิทยาเขตตรัง. วารสารสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. 41(2), 109-128.

สำนักข่าวกรมประชาสัมพันธ์. (2564). ผลสำรวจคนไทยใช้อินเทอร์เน็ตปี 2564 เฉลี่ยสูงสุดวันละ10 ชั่วโมงต่อวัน. https://tcijthai.com/news/2021/9/current/11940/2021/28/current/11940

สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2564). ร้อยละของประชากร 6 ปีขึ้นไปที่ใช้อินเทอร์เน็ต. http://statbbi.nso.go.th/staticreport/page/sector/th/16.aspx

สถิติประชากรศาสตร์ สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2564). สถิติประชากรศาสตร์ ประชากรและเคหะ. http://statbbi.nso.go.th/staticreport/page/

sector/th/01.aspx

สุกัญญา สุดบรรทัด. (2561). วิถีแห่งพลเมืองเน็ต. http://legacy.orst.go.th/wp-content/uploads/2018/01/วิถีแห่งพลเมืองเน็ต.pdf

ศิรวัตร ไทยแท้ และ ปนัดดา เลอเลิศยุติธรรม. (2561). กลวิธีทางภาษาเพื่อการจัดการสัมพันธภาพของพนักงานสายการบินต้นทุนต่ำในการปฏิเสธการขอร้องต่อผู้โดยสาย. วารสารศิลปศาสตร์. 18(1), 119-151.

ศุภณัฐ เพิ่มพูนวิวัฒน์, ศรัณยู หมั้นทรัพย์, และ จารุวรรณ แก้วมะโน. (2564). ความเป็นพลเมือง : บทสำรวจสถานะความเป็นพลเมืองกับการรู้ดิจิทัล.สำนักงานส่งเสริมการเมืองภาคพลเมือง สถาบันพระปกเกล้า.

Allport, G. W. (1961). Pattern and growth in personality. United State of America: Rinehart and Winston.

Cattell, H.E.P. and Alan D. Mead. (2008). The Sixteen Personality Factor Questionnaire (16PF). https://psycnet.apa.org/record/2008-14475-007

Davies, B., & Laws, C. (1999). Postructuralist theory in practice: Working with “behaviorally disturbed” children. International Journal for Qualitative Studies in Education.

Digital Citizenship Summit. (2017). Digital citizenship using technology appropriately. http://www.digitalcitizenship.net/

Digital Economy Promotion. (2022). Chiang Mai Digital Economy Promotion Plan. https://www.chiangmai.go.th/managing/public/D2/2D01Feb2022091701.pdf

Garton, C. (2015). 4 marketing tactics for appealing to generation Z. http://entrepreneur.com/article/252923

Holland, L.M. (2017). The perceptions of digital citizenship in middle school learning. [Doctoral dissertation]. Carson-Newman University.

International Society for Technology in Education. (2007). National Educational Technology Standards for Student. https://www.iste.org/standards/iste-standards-for-students

Lyons, R. (2012). Investigating student gender and grade level differences in digital citizenship behavior [Doctoral dissertation]. Walden University.

Lobato, M. (2015). Marketing to generation Z : Why you millennial plan is kaput. https://shorturl.asia/Sf69y

Ribble, M. (2015). Digital citizenship in schools: Nine elements all students should know. International Society for Technology in Education.

Oxley. C. (2011). Digital citizenship : Developing an ethical and responsible online culture. https://files.eric.ed.gov/fulltext/ED518512.pdf

Park, Y. (2016, Jun 14). 8 digital skills we must teach our children. https://arbogasts.Wordpress.com/2016/06/15/8-digital-skills-we-must-teach-our-children/

Prensky, M. (2001). Digital Natives, Digital Immigrants, Part 1. On The Horizon, 9(5), 3-6. https://www.emerald.com/insight/content/doi/10.1108/10748120110424816/full/html

Ribble, M. (2011). Digital citizenship in school (2nd ed). The International Society for Technology in Education.

Ribble, M., & Bailey, G. (2007). Digital citizenship in schools. ISTE.

Shea, V. (2009). Netiquette. Albion Books: Cornell University.

Taro Yamane. (1973). Statistics: An introductory analysis (3rd ed). Harper and Row Publications.

The Center for Generation Kinetics. (2015). Unlocking millennial talent 2015. https://shorturl.asia/I0aPp

Xu, S et al. (2018). Social media competence and among college students. Journal of Research into New Media Technologies. 25 (4), 735-752.

Zhao, H. and Seibert, S.E. (2006). The Big Five Personality Dimensions and Entrepreneurial Status: A Meta-Analytical Review. Journal of Applied Psychology. 91(2), 259-271.

Zimbardo, Philip G. (1980). Essentials of Psychology and Life. Publisher : ParlorBooks.