ผลกระทบของมาตรการส่งเสริมการถ่ายทำภาพยนตร์ต่างประเทศในประเทศไทย ต่อโอกาสในการเป็นจุดหมายการถ่ายทำภาพยนตร์ของภูมิภาคหลัง COVID -19

Main Article Content

วรลักษณ์ กล้าสุคนธ์
ศักดิ์สิทธิ์ ทวีกุล

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ


บทความวิจัยชิ้นนี้มีจุดมุ่งหมายในการศึกษาผลกระทบที่เกิดกับอุตสาหกรรมภาพยนตร์ไทยภายหลังการใช้มาตรการส่งเสริมการถ่ายทำภาพยนตร์ต่างประเทศในประเทศไทย (Tax Incentive) ในรูปแบบการคืนเงิน (Cash Rebate) ในปี พ.ศ. 2560 - 2563 และศึกษาถึงโอกาสของไทยในการเป็นจุดหมายการถ่ายทำภาพยนตร์ของภูมิภาคหลังวิกฤติ Covid-19 ว่าจะสามารถบรรลุตามเป้าหมายที่ได้กำหนดไว้ในยุทธศาสตร์การส่งเสริมอุตสาหกรรมภาพยนตร์และวิดีทัศน์ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560 – 2564) หรือไม่ โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ ประกอบด้วยการวิเคราะห์เอกสารที่เกี่ยวข้อง และวิธีสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (In-depth Interview) เจ้าหน้าที่พิจารณาภาพยนตร์ต่างประเทศกองกิจการภาพยนตร์และวิดีทัศน์ต่างประเทศ กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา 2 ท่าน และทีมงานชาวไทยที่ทำงานให้กับกองถ่ายภาพยนตร์ต่างประเทศ 8 ท่าน


ผลการวิจัยพบว่ามาตรการส่งเสริมการถ่ายทำภาพยนตร์ต่างประเทศในประเทศไทยส่งผลกระทบด้านบวกมากกว่าด้านลบ และเพิ่มโอกาสของไทยในการเป็นจุดหมายการถ่ายทำภาพยนตร์ของภูมิภาคทั้งก่อนและหลังวิกฤติ Covid-19 เนื่องจากมาตรการนี้ทำให้ประเทศไทยมีจุดขายเพิ่มขึ้น สามารถสร้างแรงจูงใจและดึงดูดให้กองถ่ายทำภาพยนตร์ต่างประเทศเข้ามาถ่ายทำภาพยนตร์ในประเทศไทยเพิ่มขึ้น และเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของไทยให้สามารถแข่งขันกับประเทศเพื่อนบ้านซึ่งมีมาตรการส่งเสริมการถ่ายทำภาพยนตร์ต่างประเทศอย่างมาเลเซียและสิงคโปร์ได้


 


คำสำคัญ : มาตรการส่งเสริมการถ่ายทำภาพยนตร์ต่างประเทศในไทย, การจูงใจด้านภาษี, จุดหมายการถ่ายทำภาพยนตร์

Article Details

How to Cite
กล้าสุคนธ์ ว., & ทวีกุล ศ. . (2022). ผลกระทบของมาตรการส่งเสริมการถ่ายทำภาพยนตร์ต่างประเทศในประเทศไทย ต่อโอกาสในการเป็นจุดหมายการถ่ายทำภาพยนตร์ของภูมิภาคหลัง COVID -19. วารสารการสื่อสารและสื่อบูรณาการ, 10(1), 235–260. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/masscomm/article/view/256744
บท
บทความวิจัย
Author Biography

ศักดิ์สิทธิ์ ทวีกุล, คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

อาจารย์ประจำสาขาวิชาภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ 

References

บรรณานุกรม
ภาษาไทย
กานดา ศรีจันทร์. (2557). การศึกษาวัฒนธรรมองค์กรแรงจูงใจที่มีต่อความจงรักภักดีต่อองค์กรของพนักงานบริษัทเคอรี่
(ประเทศไทย) จำกัด. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต,
คณะบริหารธุรกิจ
กรุงเทพธุรกิจ. (2559). กองถ่ายต่างชาติบุกไทย. สืบค้นเมื่อวันที่ 15 กันยายน 2560, จากhttps://www.bangkokbiznews.
com/news/705814
กองกิจการภาพยนตร์. (2560). คู่มือการรวบรวมเอกสารหลักฐานทางการเงิน. สืบค้นเมื่อวันที่ 15 กันยายน 2560, จาก
https://www.thailandfilmoffice.go.th/article_attach/6.%20Guidebook.pdf
คณะกรรมการภาพยนตร์และวีดิทัศน์แห่งชาติ. (2559). ยุทธศาสตร์การส่งเสริมอุตสาหกรรมภาพยนตร์และวีดิทัศน์ระยะที่ ๓
(พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔). กรุงเทพฯ: กระทรวงวัฒนธรม
นพปฎล พลศิลป์. (2564). อุตสาหกรรมภาพยนตร์โลกยุคโควิด-19 จีนคือตลาดใหญ่ที่สุดและความสำคัญของ ‘No Time To Die
กับ ‘Venom’ สืบค้นเมื่อ 1 พฤศจิกายน 2564, จาก https://www.gqthailand.com/culture/article/global-box-
office-forecast
ไทยนิวส์. (2564). เปิดเม็ดเงินเข้าไทย จากหนังฟอร์มยักษ์ Beer Run เข้ามาถ่ายทำ. สืบค้นเมื่อ 1 พฤศจิกายน 2564, จาก
https://www.thainewsonline.co/news/823415
ไทยรัฐออนไลน์. (2564). ดันสุดลิ่ม ดึงกองถ่ายต่างประเทศเลือกไทยเป็นสถานที่ถ่ายทำ. สืบค้นเมื่อ 2 พฤศจิกายน 2564, จาก https://www.thairath.co.th/business/economics/2233720
โพสต์ทูเดย์. (2562). ลุ้นไทยขึ้นอันดับ 1 “โลเคชั่นกองถ่ายหนังต่างประเทศ”. สืบค้นเมื่อ 1 พฤศจิกายน 2564, จาก
https://www.posttoday.com/economy/news/582844
ศฐาณพงศ์ ลิ้มวงษ์ทอง, (2560). ไทยเรากำลังย่ำอยู่กับที่ ผลประโยชน์มหาศาลจากกองหนังต่างประเทศ. ไทยรัฐออนไลน์, สืบค้นเมื่อ 15 กันยายน 2560, จาก https://www.thairath.co.th/content/1027636
สปริงนิวส์. (2564). กองถ่ายหนังต่างแดนไม่หวั่นโควิดไทย 4 เดือนแรกโกยรายได้ 1,200 ล้าน. สืบค้นเมื่อ 1 มิถุนายน 2564,
จาก https://www.springnews.co.th/news/810141
อภินัทธ์ ศิริเจริญจิตต์. (2564). ศิลป์สโมสรเสวนาออนไลน์ : ปักหมุดเมืองไทย ก้าวสู่ศูนย์กลางใหญ่กองถ่ายโลก. (ไฟล์วิดีโอ).
สืบค้นจาก https://www.youtube.com/watch?v=dpqDLdDBoG8
อุดม มัตสยะวนิชกูล. (2564). ศิลป์สโมสรเสวนาออนไลน์ : ปักหมุดเมืองไทย ก้าวสู่ศูนย์กลางใหญ่กองถ่ายโลก. (ไฟล์วิดีโอ).
สืบค้นจาก https://www.youtube.com/watch?v=dpqDLdDBoG8

ภาษาอังกฤษ
Buder Emily, The Best Countries in the World to Film Your Movie, Based on Production Incentives. Retrieved September 15, 2018, from https://nofilmschool.com/2016/07/film-production-incentives-tax-incentives-movie-rebates
Deehan, Tom. (2018). Thailand’s film industry breaks records under new incentive. Retrieved
September 15, 2018, from http://www.thelocationguide.com/2018/01/thailands-film-industry-breaks-records-under-new-incentive/
Film and Movie Industry - Statistics & Facts. (2016), Film and Movie Industry. Retrieved September 15, 2018,
from https://www.statista.com/topics/964/film/
Film and Movie Industry - Statistics & Facts. (2018), Global box office revenue from 2005 to 2017
(in billion U.S. dollars). Retrieved September 15, 2018, from
https://www.statista.com/statistics/271856/global-box-office-revenue/
Herzberg, F. (1959). The motivation to work. New York: Wiley Sons.
Le Héron, E. (2004) Placing geographical imagination in film : New Zealand filmmakers’ use of landscape. New Zealand Geographer 60 (1), 60-66.
Lodderhose, Diana. Runaways Welcome: Countries Offer Incentives to Lure Productions Fleeing
Hollywood. Retrieved September 15, 2018, fromHTTPS://VARIETY.COM/2013/BIZ/GLOBAL/RUNAWAYS-WELCOME-COUNTRIES-OFFER-INCENTIVES-TO-LURE-PRODUCTIONS-FLEEING-HOLLYWOOD-1200590312/
Roesch, S. (2009). The Experiences of Film Location Tourists. USA: Channels View Publications.
Rosnan and Aziz. (2012). Film Business in Malaysia: Challenges and Opportunities, Retrieved September
15, 2018, from http://www.ijhssnet.com/journals/Vol_2_No_12_Special_Issue_June_2012/24.pdf
Thai Film Office. (2018). Why Thailand. Retrieved September 15, 2018, from https://www.thailandfilm
destination.com/whythailand