ภาพลักษณ์การลงทุนและการท่องเที่ยวของประเทศไทยและจังหวัดเชียงใหม่ที่ปรากฏบนสื่อออนไลน์ของจีน
Main Article Content
บทคัดย่อ
การศึกษา “เรื่องภาพลักษณ์การลงทุนและการท่องเที่ยวของประเทศไทยและจังหวัดเชียงใหม่ที่ปรากฏบนสื่อออนไลน์ของจีน” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาพลักษณ์ของประเทศไทยและจังหวัดเชียงใหม่ ในฐานะที่เป็นแหล่งประกอบการธุรกิจการท่องเที่ยวในมุมมองจีนที่ปรากฏในสื่อออนไลน์ของจีน การวิจัยนี้เป็นวิธีการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า ภาพลักษณ์การลงทุนของทั้งประเทศไทยและจังหวัดเชียงใหม่ ถูกสื่อสารบนสื่อออนไลน์ของประเทศจีนผ่านเนื้อหา 3 ลักษณะ คือ แรงจูงใจการลงทุน ปัจจัยการลงทุน และแนวโน้มเรื่องผลกระทบการลงทุนเช่นเดียวกัน ส่วนภาพลักษณ์การท่องเที่ยวของทั้งประเทศไทยและจังหวัดเชียงใหม่ ถูกสื่อสารบนสื่อออนไลน์ของประเทศจีนผ่านเนื้อหา 3 ลักษณะ คือ ภาพลักษณ์ที่เกิดจากการรับรู้ ภาพลักษณ์ที่เกิดจากความรู้สึกหรือทัศนคติ และภาพลักษณ์ที่มีต่อสถานที่โดยรวมเช่นเดียวกัน
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ลิขสิทธ์ที่ผู้เขียนบทความต้องยอมรับ
References
รายการอ้างอิง
หนังสือ
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. (2555). โครงการศึกษาภาพลักษณ์ด้านการท่องเที่ยว
ของประเทศไทยในสายตาของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ (Thailand
Destination Image). กรุงเทพฯ: การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย.
จิรายุทธ์ สนดา. (2557). ภาพลักษณ์ของการท่องเที่ยว และการรับรู้การประชาสัมพันธ์
ทางการตลาดที่ส่งผลต่อการกลับมาเที่ยวซ้ำของนักท่องเที่ยวไทยใน
จังหวัดจันทบุรี.บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยกรุงเทพ. กรุงเทพฯ.
ชัยยุทธ์ ถาวรานุรักษ์. (2560). ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับอุตสาหกรรมท่องเที่ยว (พิมพ์
ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
วุฒิชาติ สุนทรสมัย. (2551). ภาพลักษณ์ของแหล่งท่องเที่ยวใครกําหนด. วารสาร
S&M, 7 (75), 38 - 43.
พิทยา สุวคันธ์. (2549). การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศของจีนในไทยและ
ผลกระทบต่อความสัมพันธ์ไทย - จีน (วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต).
วิทยาลัยสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. กรุงเทพฯ.
Boulding, K. E. (1975). Modern Public Relations. New York: McGraw-Hill.
Echtner, C. M., Ritchie, R. B. (2003). The Meaning and Measurement of
Destination Image. The Journal of Tourism Studies, 14 (1),
- 48.
Fakaye, P. C., Crompton, J. L. (1991). Image Differences between
Prospective, First-time and Repeat Visitors to the Lower Rio
Grande Valley. Journal of Travel Research, 30 (2), 10 - 16.
Gunn, C. A. (1972). Vacationscape Designing Tourist Regions. Bureau of
Business Research, University of Texas at Austin.
Leisen, B. (2001). Image Segmentation: The Case of a Tourism Destination.
Journal of Services Marketing, 15 (1), 49 - 66.
Suh, Y. K. (2004). Perceptions in International Urban Tourism: An Analysis
of Travelers to Seoul, Korea. Journal of Travel Research, 43 (1),
-45.
Online
Roach, J. (2005). 4,000-Year-Old Noodles Found in China. Retrieved June
, 2019, from https://news.nationalgeographic.com/
news/2005/10/4-000-year-old-noodles-found-in-china/