การศึกษาหัวข้อไวยากรณ์คำสุภาพภาษาญี่ปุ่นในตำราเรียนชั้นต้น

Main Article Content

ชนิกา จิตธารารักษ์
ฉัตรพงศ์ เศรษฐสมภพ

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษา Keigo (คำสุภาพในภาษาญี่ปุ่น) ในหัวข้อไวยากรณ์ในตำราภาษาญี่ปุ่นที่เผยแพร่ในประเทศไทย โดยเน้นศึกษาคำนิยาม เกณฑ์การแบ่งประเภทและการยกตัวอย่างของ Keigo ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่า คำนิยามและเกณฑ์การแบ่งประเภทของ Keigo ในตำรามีจุดที่ต่างกันและคลาดเคลื่อนจากหลักเกณฑ์ของ Bunkacho จากการศึกษาลักษณะการยกตัวอย่างประโยคการใช้ Keigo พบว่า ยังขาดคำอธิบายเกี่ยวกับบริบทอยู่ ดังนั้นผู้วิจัยจึงคาดหวังว่าบทความนี้จะสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับ Keigo ให้กระจ่างชัดขึ้น และการชี้ให้เห็นถึงปัญหาของ Keigo ในหัวข้อไวยากรณ์ เพื่อลดปัจจัยก่อความเข้าใจผิดของผู้เรียนภาษาญี่ปุ่น

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

How to Cite
จิตธารารักษ์ ช. ., & เศรษฐสมภพ ฉ. . (2023). การศึกษาหัวข้อไวยากรณ์คำสุภาพภาษาญี่ปุ่นในตำราเรียนชั้นต้น. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 23(3), 264–287. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/liberalarts/article/view/266519
บท
บทความวิจัย

References

เจแปน ฟาว์นเดชั่น. (2560). ภาษาญี่ปุ่น อะกิโกะโตะโทะโมะดะจิ เล่ม 6 (ฉบับปรับปรุง). สำนักพิมพ์ภาษาและวัฒนธรรม.

ณัฏฐิรา ทับทิม. (2559). การวิเคราะห์รูปไวยากรณ์จากคลังข้อมูลภาษาสู่การเรียนการสอนภาษาญี่ปุ่น: กรณีศึกษารูปไวยากรณ์ “ภาษาสุภาพ”. วารสารญี่ปุ่นศึกษา, 33(1), 46-60.

โยชิโกะ ยามาซากิ, เรโกะ อิชิอิ, คาโอรุ ซาซากิ, มิวาโกะ ทากาฮาชิ, และ เคโกะ มาชิดะ. (2557). ไดจิ ภาษาญี่ปุ่นชั้นต้น เล่ม 4 (กองบรรณาธิการ, ผู้แปล). สำนักพิมพ์ภาษาและวัฒนธรรม.

มินนะ โนะ นิฮงโกะ 4. (2564). (2nd ed.). สำนักพิมพ์ภาษาและวัฒนธรรม.

Bunkacho. (2007). Keigo no shishin. http://www.bunka.go.jp/seisaku/bunkashingikai/sokai/sokai_6/pdf/honorifics_tousin.pdf (in Japanese).

Cook, H. M. (2011). Are honorifics polite? Uses of referent honorifics in a Japanese committee meeting. Journal of Pragmatics, 43, 3655-3672. https://doi.org/10.1016/j.pragma.2011.08.008

Kabaya, H., Kim, D., Yoshikawa, K., Takagi, M., & Utsunomiya, Y. (2010). Keigo komyunikeeshon. Asakura Shoten. (in Japanese)

Kikuchi, Y. (2003). Keigo to sono omona kenkyuu no gaiyoo. In Y. Kikuchi (Ed.), Asakura nihongokooza 8 keigo (pp. 1-30). Asakura Shoten. (in Japanese)

Kikuchi, Y. (2005). “Keigo” to wa nani ka ga doo kawatte kiteiru ka. Nihongaku, 24(11). 14-21. (in Japanese)

Moriyama, Y. (2010). Gendainihongo no keigo no kinoo to poraitonesu: “Jooge” no sozaikeigo to “kyori” no kikitekeigo. Doshishajoshidaigaku nihongo nihonbungaku, 22, 1-19.

Noro, K. (2016). Nihongohyoogen kyookasho kara miru keigoshidoo no mondaiten. Kyaria kenkyuu sentaa kiyoo nenpoo, 2, 33-40. (in Japanese)

Ohkubo, K. (2009). The function of Sonkeigo and Kenjogo: An analysis of MC discourse at Japanese wedding receptions. The Japanese Journal of Language in Society, 12(1), 162-173. (in Japanese)

Okamoto, S. (2021). Your politeness is my impoliteness: Variable understandings of the grammar and indexical meanings of honorifics. East Asian Pragmatics, 6(1), 39-64. https://doi.org/10.1558/eap.18184

Sugo, S. (2021). Honorific expressions and humble expressions in Japanese language textbooks for beginners: Focusing on the distinction proposed in the “guidelines for honorific expressions 2007”. Mejiro Journal of Humanities, 17, 75-94. (in Japanese)

Takiura, M. (2008). Honorifics seen from politeness, politeness seen from honorifics: An overview focusing on their pragmatic relativity. The Japanese Journal of Language in Society, 11(1), 23-38. (in Japanese)