ความเครียด : การศึกษาอุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์ของผู้ใช้ภาษาไทยในทวิตเตอร์
Main Article Content
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถ้อยคำอุปลักษณ์ที่สะท้อนมโนอุปลักษณ์ความเครียดในภาษาไทยและศึกษาหน้าที่ของอุปลักษณ์ โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากทวิตเตอร์เดือนมีนาคม พ.ศ. 2565 ที่แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับความเครียด จำนวน 2,522 ข้อความ และวิเคราะห์ข้อมูลตามแนวคิด อุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์และหน้าที่ของอุปลักษณ์ ผลการวิจัยพบถ้อยคำอุปลักษณ์ที่สะท้อนมโนอุปลักษณ์ความเครียดว่าเป็นวัตถุสิ่งของ สิ่งมีชีวิต น้ำ สิ่งปลูกสร้าง พื้นที่ปิดล้อม และไฟหรือความร้อน โดยอุปลักษณ์ดังกล่าวมีหน้าที่สำคัญทั้งด้านการถ่ายทอดความคิด ด้านบุคคลสัมพันธ์ และด้านการเรียบเรียงความ
Downloads
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
กรกนก รัมมะอัตถ์. (2556). การเปรียบเทียบอุปลักษณ์ความรักในเพลงไทยลูกทุ่งกับเพลงไทย สากล [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
กรุงเทพธุรกิจ. (27 กรกฎาคม 2565). ผลวิจัยชี้ คนไทย 8 ใน 10 มีปัญหา “สุขภาพจิต” กลุ่ม “เจน Z” รู้สึกโดดเดี่ยวที่สุด. กรุงเทพธุรกิจ. https://www.bangkokbiznews.com/health/1017766
คณิน จินตนาปราโมทย์ และ พรชัย สิทธิศรัณย์กุล. (2562). สรีรวิทยาความเครียดจาก การทำงาน และการแก้ปัญหาเมื่อเผชิญความเครียดในอาชีพแพทย์. การแพทย์และวิทยาศาสตร์สุขภาพ, 26(2), 112-123.
จันทิมา อังคพณิชกิจ, อธิชาติ โรจนะหัสดิน, และ ทรงพล อินทเศียร. (2563). ภาษา การสื่อสาร และโรคซึมเศร้า: การสำรวจเบื้องต้นเพื่อความเข้าใจโรคซึมเศร้าและผู้มีภาวะซึมเศร้าในสังคมไทย. อมรินทร์ พริ้นติ้ง.
เชิดชัย อุดมพันธ์. (2555). อุปลักษณ์เกี่ยวกับโรคในภาษาไทยถิ่นใต้. [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
ณรงค์กรรณ รอดทรัพย์. (2555). อุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์แสดงอารมณ์โศกเศร้าในภาษาไทย.[Paper presentation]. การประชุมสัมมนาเครือข่ายนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ครั้งที่ 11 ปีการศึกษา 2554, สงขลา, ประเทศไทย.
ณรงค์กรรณ รอดทรัพย์. (2557). อุปลักษณ์เกี่ยวกับอารมณ์เบื่อในภาษาไทย. [Paper presentation]. การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 24 ปีการศึกษา 2557, สงขลา, ประเทศไทย.
ณรงค์กรรณ รอดทรัพย์. (2558). อุปลักษณ์เกี่ยวกับความกลัวในภาษาไทย. วารสาร มฉก.วิชาการ, 18(36), 65-80.
ณรงค์กรรณ รอดทรัพย์. (2561). มโนอุปลักษณ์แสดงอารมณ์โศกเศร้าในนวนิยายไทย. มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ปริทัศน์, 6(2), 55-76.
ณรงค์กรรณ รอดทรัพย์, อัญชลี วงศ์วัฒนา, และ พัชรินทร์ อนันต์ศิริวัฒน์. (2560). อุปลักษณ์เกี่ยวกับอารมณ์กลัวในรวมเรื่องสั้นและรายการโทรทัศน์ภาษาไทย. อารยธรรมศึกษาโขง-สาละวิน, 8(2), 85-107.
ณัฐพร พานโพธิ์ทอง. (2542). หน้าที่ของอุปลักษณ์จากมุมมองของผู้พูดภาษาไทย. ภาษาและวรรณคดีไทย, 16, 249-268.
ดวงพร สุรพงษ์พิวัฒนะ. (2565). เคล็ดลับบอกลาความเครียด. หมอชาวบ้าน, 43(513), 12-16.
นันนิชา ลือพืช. (2560). การสร้างความหมายและแสดงตัวตนของสาววายในพื้นที่ออฟไลน์และพื้นที่ออนไลน์. [ภาคนิพนธ์ปริญญาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
รัชนีย์ญา กลิ่นน้ำหอม. (2556). อุปลักษณ์ความสุขในบล็อกไทย. สถาบันวัฒนธรรมและศิลปะ, 14(2), 132-138.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. ราชบัณฑิตยสถาน.
วรวรรณา เพ็ชรกิจ. (2551). การศึกษาอุปลักษณ์เกี่ยวกับโรคมะเร็งในภาษาไทยตามแนว ปริชานศาสตร์และวัจนปฏิบัติศาสตร์. [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วรัญญู วิศาลศิริกุล. (2561). การระบุผู้มีอิทธิพลต่อกระแสโซเชียลมีเดียบนทวิตเตอร์ด้วยวิธีการจำแนกข้อมูลแบบเอนเซมเบิล. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ศิระวัสฐ์ กาวิละนันท์. (2565). องค์ประกอบการสื่อสารและกลวิธีทางภาษาเพื่อแสดงความคิดเห็นในเพจโรคซึมเศร้า: การศึกษาตามแนวปริจเฉทวิเคราะห์และวัจนปฏิบัติศาสตร์. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้, 10(1), 224-247.
ศิริพร ภักดีผาสุข. (2561). ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับอัตลักษณ์และแนวทางการนำมาศึกษาภาษาไทย. โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศุภชัย ต๊ะวิชัย. (2549). อุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์แสดงอารมณ์โกรธในภาษาไทย. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยศิลปากร.
สินีนาฏ วัฒนสุข. (2549). อุปลักษณ์แสดงอารมณ์รักในเพลงไทยสากลสำหรับวัยรุ่นไทย. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สำนักข่าวกรมประชาสัมพันธ์. (2565). ระดับความเสี่ยงเครียดประชาชนเพิ่มขึ้น แนะดูข่าวอย่างมีสติ งดเติมความรู้สึกทางลบให้ตัวเอง. https://thainews.prd.go.th/th/news/detail/TCATG220303145759088
Foley, W. (1997). Anthropological linguistics: An introduction. Blackwell.
Gibbs, R. (1994). The poetics of minds: Figurative thought, language, and understanding. Cambridge University Press.
Goatly, A. (1997). The language of metaphors. Routledge.
Kavilanan, S., & Kaewjungate, W. (2021). “Kids… can you please understand us (parents)?”: The relationships between linguistic strategies and identities of parents with major depressive disorder from storytelling in the interview discourse. Kasetsart Journal of Social Sciences, 42(3), 591-598.
Kövecses, Z. (2002). Metaphor: A practical introduction. Oxford University Press.
Kövecses, Z. (2004). Metaphor and emotion: Language, culture, and body in human feeling. Cambridge University Press.
Lakoff, G., & Johnson, M. (1980). Metaphors we live by. The University of Chicago Press.
Ngamjitwongsakul, P. (2003). A study of love metaphors in modern Thai songs [Unpublished master thesis]. Mahidol University.
Saeed, J. (1997). Semantics. Blackwell.
Thailand Digital Stat. (2022). DIGITAL 2022: THAILAND. https://datareportal.com/reports/digital-2022-thailand
Ungerer, F., & Schmid, H.-J. (1996). An introduction to cognitive linguistics. Longman.
Wezyk, A. (2020). Understanding stress and health through the use of visual metaphor. [Unpublished doctoral dissertation]. Bournemouth University.
Wezyk, A., Turner-Cobb, J. M., & Jones, D. (2018, November 22). “YOU’RE JUST STUCK THERE” metaphors people use to talk about stress [Poster presentation]. Conference: BPS Division of Health Psychology annual conference 2018, Newcastle.