การวิเคราะห์ข้อผิดในงานเขียนภาษาญี่ปุ่นของผู้เรียนชาวไทย ชั้นต้น

Main Article Content

สุณีย์รัตน์ เนียรเจริญสุข

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาข้อผิดที่พบในงานเขียนภาษาญี่ปุ่นของผู้เรียนชาวไทยที่เพิ่งจบชั้นต้นว่าเป็นข้อผิดประเภทใดรวมทั้งศึกษาสาเหตุของข้อผิด และเสนอแนะแนวทางการสอนที่ช่วยสนับสนุนให้นักศึกษาสามารถเขียนได้อย่างถูกต้องมากขึ้น ข้อมูลที่นำมาใช้ในการวิจัยเป็นข้อผิดที่รวบรวมจากเรียงความ จำนวน 161 ฉบับ ของนักศึกษา 21 คน ที่ลงทะเบียนวิชาการเขียนภาษาญี่ปุ่นเบื้องต้น ปีการศึกษา 2561 ผลการศึกษาพบข้อผิดทั้งหมด 1,029 แห่ง แบ่งเป็นข้อผิดด้านไวยากรณ์ มีมากที่สุด 712 แห่ง (ร้อยละ 69.19) รองลงมา คือ ข้อผิดด้านคำและสำนวน 264 แห่ง (ร้อยละ 25.66) และข้อผิดด้านความเหมาะสมในการใช้ภาษา 53 แห่ง (ร้อยละ 5.15) จากการวิเคราะห์สาเหตุที่ทำให้เกิดข้อผิดพบว่าการถ่ายโอนเชิงลบจากภาษาไทยส่งผลต่อข้อผิดด้านคำและสำนวนมากที่สุด ในขณะที่ข้อผิดด้านไวยากรณ์โดยส่วนใหญ่เกิดจากกลยุทธ์ต่าง ๆ ที่นักศึกษานำมาใช้ เช่น การสรุปเกินการ การจำเป็นชุด และข้อผิดด้านความเหมาะสมในการใช้ภาษาเกิดจากความไม่คุ้นเคยและไม่ระมัดระวังของนักศึกษา

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

How to Cite
เนียรเจริญสุข ส. (2021). การวิเคราะห์ข้อผิดในงานเขียนภาษาญี่ปุ่นของผู้เรียนชาวไทย ชั้นต้น . วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 21(2), 1–29. https://doi.org/10.14456/lartstu.2021.18
บท
บทความวิจัย

References

ภัทรวรรณ อยู่เย็น, Takashi, O., Masayou, Y., & Naoko, Y. (2545). การวิเคราะห์ข้อผิดของนักเรียนไทยที่เรียนเรียงความระดับกลาง ตัวอย่างกรณีศึกษาจากนักศึกษาวิชาเอกภาษาญี่ปุ่นมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. วารสารเจแปนฟาวน์เดชั่น กรุงเทพฯ, 5, 97-112.

สมเกียรติ เชวงกิจวณิช. (2556). การใช้คำช่วยชี้สถานที่ にและで ในภาษาญี่ปุ่นของผู้เรียนชาวไทย. วารสารญี่ปุ่นศึกษา, 30(2), 75-93.

สร้อยสุดา ณ ระนอง. (2546). งานวิจัยตำราการเขียนภาษาญี่ปุ่นเบื้องต้น 1. วารสารมนุษยศาสตร์, 11, 35-47.

สร้อยสุดา ณ ระนอง. (2549). การศึกษาประโยคผิดในเรียงความภาษาญี่ปุ่นชั้นสูงของนักศึกษาชาวไทยเพื่อการสร้างคู่มือช่วยสอน. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

สุณีย์รัตน์ เนียรเจริญสุข, และพัชราพร แก้วกฤษฎางค์. (2562). การพัฒนาทักษะการฟัง-พูดภาษาญี่ปุ่นโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ. วารสารญี่ปุ่นศึกษา, 36(1), 102-117.

Harasawa, I. (2012). Nihongo shochuukyuu gakushuusha no sakubun shidou: gakushuusha no goyou bunseki wo moto ni. Shizuoka daigaku kokusai kouryuu sentaa kiyou, 6, 79-92.

Ichikawa, Y. (1989). Toritate joshi “wa” no goyou: Danwa reberu no goyou wo chuushin ni. Nihongo kyouiku, 67, 159-164.

Ichikawa, Y. (2013). Gaikokujin nihongo gakushuusha no bunpouteki yosoku nouryoku o dou sodateru ka: Shokyuu dankai no gakushuusha ni mukete. Kokusai kouryuu kikin bankoku nihon bunka sentaa nihongo kyouiku kiyou, 10, 1-14.

Kato, A., Kourakata, R., Ishigami, A., Kido, M., Tanaka, T., & Nagato, M. (2016). Chuujoukyuu nihongo gakushuusha no reberu chekku sakubun ni okeru tenkeiteki mondaiten. Tsukuba daigaku guroobaru komyunikeeshon kyouiku sentaa nihongo kyouiku ronshuu, 31, 127-145.

Kawakami, A. (1994). Goi gainen kankei ni okeru daini gengo no shuujukudo no eikyou. Shinrigaku kenkyuu, 64, 426-433.

Kido, M., Kato, A., Koike, Y., Hirakata, Y., Ishikawa, S., & Kimimura, C. (2019). Chuujoukyuu nihongo gakushuusha no tame no sakubun gaidobukku no kaihatsu. Tsukuba daigaku guroobaru komyunikeeshon kyouiku sentaa nihongo kyouiku ronshuu, 34, 41-58.

Krashen, S. (1982). Principles and Practice in Second Language Acquisition. Pergamon Press.

Laufer, B. (2005). Focus on form in second language vocabulary learning. Eurosla yearbook (pp. 223-250). John Benjamins Publishing Company.

Li, L. (2016). L1 Role in Bilinguals’ Mental Lexicon: A Comparative Study between Chinese-English and Alphabetic Bilinguals. Theory and Practice in Language Studies, 6(8), 1584-1590.

Morimoto, K. (2016). Chuukyuu nihongo gakushuusha no sakubun ni okeru goi shiyou no goyou to mondaiten. Nihongo gakushuusha no bogo/ chiikisei wo fumaeta nihongo kyouiku kenkyuu, 2, 99.106.

Murata, Y. (2018). Doitsugo wo bogo to suru nihongo gakushuusha no sakubun ni mirareru gengoteki tokuchou: shuujukudo no sa wa sanshutsu ni dou arawareru no ka. Daini gengo toshite no nihongo no shuutoku kenkyuu, 21, 61-76.

Potter, M. C., So, K. F., Von Eckardt, B., & Feldman, L. B. (1984). Lexical and conceptual representation in beginning and proficient bilinguals. Journal of Verbal Learning and Verbal Behavior, 23(1), 23-38.

Sakoda, K. (2001). “Gakushuusha no goyou wo umidasu gengoshori no sutoratejii (1): basho wo arawasu “ni” to “de” no baai”. Hiroshima daigaku nihongo kyouiku kenkyuu, 11, 17-22.

Sakoda, K. (2002). Nihongo kyouiku ni ikasu daini gengo shuutoku kenkyuu. Aruku.

Selinker, L. (1972). Interlanguage. International Review of Applied Linguistics, 10, 219-231.

Shirakawa, H. (2007). Gakushuusha no goyou / hiyou wo dou kangaeru ka. Hiroshima daigaku daigakuin kyouikugaku kenkyuuka kiyou dainibu, 56, 173-179.

Sugaya, N. (2002). Daini gengo toshite no nihongo no asupekuto shuutoku kenkyuu gaikan (dai 1 shou bunpou keishiki to kinou no shuutoku to shiyou). Gengobunka to Nihongo kyouiku, zoukan tokushuugou, Daini gengo shuutoku, kyouiku no kenkyuu saizensen. Nihongo gengo bunka kenkyuukai. 70-86.

Yovkova Shii, E. (2012). shukaku joshi “ga” no imi wo gakushuusha ni dou oshieru ka. Nihongo kyouiku renraku kaigi ronbunshuu, 24, 40-47.