ที่มาของพระประคนธรรพ
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาที่มาของพระประคนธรรพผู้เป็นดุริยเทพองค์หนึ่งในพิธีไหว้ครูดนตรีไทย โดยศึกษาจากตัวบทวรรณกรรมบาลี สันสกฤต และวรรณกรรมไทย ผลการศึกษาพบว่า พระประคนธรรพมีที่มาที่หลากหลายซึ่งเป็นการผสมผสานกันของคติพุทธศาสนา คติฮินดู และคติการนับถือผี นอกจากนี้อัตลักษณ์ของพระประคนธรรพในปัจจุบันสามารถอธิบายได้ด้วยบริบททางประวัติศาสตร์ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ผู้วิจัยเห็นว่า พระประคนธรรพน่าจะมีที่มาจากวัฒนธรรมไทยเอง มิใช่มาจากวัฒนธรรมอื่น
Downloads
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
คมกฤช อุ่ยเต็กเค่ง. (2560). ภารตะ-สยาม? ผี พราหมณ์ พุทธ? (พิมพ์ครั้งที่ 2). มติชน.
ธนิต อยู่โพธิ์. (2503). พิธีไหว้ครู ตำราครอบโขนละคอน พร้อมด้วยตำนานและคำกลอนไหว้ครูละครชาตรี. กองการสังคีต กรมศิลปากร.
พงศ์ศักดิ์ สิงหะนัด. (2538). วรรณกรรมไทยบัวหลวง เรื่อง วิเคราะห์บทไหว้ครูโขน-ละคร. ชุติมาการพิมพ์.
มงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. (2504). พระศุนหเศป. องค์การค้าของคุรุสภา.
มงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. (2509). บทละครรำเรื่องศกุนตลา บทละครดึกดำบรรพ์เรื่องศกุนตลา และบทความเรียงและบทละครร้องเรื่องสาวิตรี (พิมพ์ครั้งที่ 2). องค์การค้าของคุรุสภา.
มงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. (2513). บ่อเกิดรามเกียรติ์ (พิมพ์ครั้งที่ 9). ศิลปาบรรณาคาร.
มงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. (2515). อธิบายและอภิธานในหนังสือนารายณ์สิบปาง. กรมศิลปากร. (มูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัยจัดพิมพ์โดยเสด็จพระราชกุศลซึ่งสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ทรงบำเพ็ญในวันคล้ายวันสวรรคต พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว วันที่ 26 พฤศจิกายน 2515)
มงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. (2520). ปรียทรรศิกา (พิมพ์ครั้งที่ 2). องค์การค้าของคุรุสภา.
มงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. (2563ก). พระนลคำหลวง. https:// vajirayana.org/พระนลคำหลวง/อภิธาน/น
มงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. (2563ข). ศกุนตลา ของกาลิทาสรัตนะกวี ฉบับภาษาไทย. https://vajirayana.org/ศกุนตลา
ไมเคิล ไรท์. (2538). หัวครู หัวใคร?. ศิลปวัฒนธรรม ฉบับ ธันวาคม 2538. www.silpa-mag.com
ยุพิน กษมากุล. (2523). ฤษีนารทในวรรณคดีสันสกฤต [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
รังษี สุทนต์ และคณะ. (2560). ชินาลังการฎีกา พระพุทธรักขิตาจารย์ รจนา (พิมพ์ครั้งที่ 2). โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
(มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยจัดพิมพ์เนื่องในงาน 130 ปี ครบรอบวันสถาปนา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย 13-17 กันยายน 2560)
ศิลปากร, กรม. (2539). วรรณกรรมสมัยสุโขทัย (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรมศิลปากร กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร์.
ไอยเรศ บุญฤทธิ์. (2559). วัตถุมงคลทางดนตรีไทยในสังคมไทยร่วมสมัย: การสร้าง ความหมาย และบทบาท [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Flood, G. (2005). The Blackwell Companion to Hinduism. Chicester: John Wiley and Sons Ltd.
Frazier, J. (2014). The Bloomsbury Companion to Hindu Studies. London: Bloomsbury Publishing PLC.
Monier-Williams, Sir Monier. (2008). The Sanskrit English Dictionary. Delhi: Motilal Banarsidass.