การปะทะสังสรรค์ของคติขงจื๊อ เต๋า พุทธในตัวละครหงอคงในวรรณกรรมไซอิ๋ว

Main Article Content

สุรสิทธิ์ อมรวณิชศักดิ์

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ศึกษาความสัมพันธ์ที่สะท้อนคติพหุวัฒนธรรมแบบจีนในตัวละคร “หงอคง” ในวรรณกรรมไซอิ๋ว ซึ่งพบว่า ผู้ประพันธ์ได้สร้างภาพความเป็นมนุษย์ให้กับหงอคงด้วยการเรียนรู้กฎเกณฑ์ทางสังคมในแบบที่สำนักขงจื๊อต้องการ และมุ่งมั่นแสวงหาความเป็นอมตะของฝ่ายเต๋าอย่างไม่หยุดหย่อน เมื่อโชคชะตาพลิกผันให้เข้าสู่ทางธรรมในฐานะศิษย์คนโตของพระถังซำจั๋ง หงอคงก็กลายเป็นผู้ตื่นรู้ในกิเลสตัณหาทันที ผู้วิจัยตั้งข้อสังเกตว่า การสวมชุดเสื้อผ้าของหงอคงในแต่ละครั้งชี้ให้เห็นถึงสภาวะที่เปลี่ยนผ่าน จากลิงเป็นมนุษย์ จากมนุษย์กลายเป็นเซียน จากเซียนเข้าถึงพุทธภาวะ อย่างไรก็ตาม ตัวละครหงอคงในวรรณกรรมไซอิ๋วยังมีปมความขัดแย้งเรื่องศีลธรรมในตัวเองด้วย

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

How to Cite
อมรวณิชศักดิ์ ส. (2021). การปะทะสังสรรค์ของคติขงจื๊อ เต๋า พุทธในตัวละครหงอคงในวรรณกรรมไซอิ๋ว. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 21(2), 157–189. https://doi.org/10.14456/lartstu.2021.23
บท
บทความวิจัย

References

ถาปกรณ์ กำเนิดศิริ. (2552). มโนทัศน์เรื่องพุทธภาวะในฐานะรากฐานทางจริยธรรมในพุทธปรัชญา [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ถาวร สิกขโกศล. “ไซอิ๋ว ยอดนิยายมหัศจรรย์”. ใน อู๋เฉิงเอิน. (2552). ไซอิ๋ว. พิมพ์คำ.

ถาวร สิกขโกศล. (2557). เทศกาลจีนและการเซ่นไหว้. มติชน.

ปกรณ์ ลิมปนุสรณ์. (2558). คัมภีร์เมิ่งจื่อ. โอเพ่น โซไซตี้.

พุทธทาสภิกขุ. (2560). ปฏิจจสมุปบาทที่ควรศึกษา. มูลนิธิหอจดหมายเหตุพุทธทาสอินทปัญโญ.

สุวรรณา สถาอานันท์. (2562). หลุนอี่ว์: ขงจื่อสนทนา. โอเพ่น โซไซตี้.

เหยาเหว่ยจวิน และซ่งฉวนอิ๋น (กนกพร นุ่มทอง, แปล). (2563). เปิดม่านมังกร บทเรียนจากความล้มเหลว. สยามอินเตอร์บุ๊ค.

องค์ทะไลลามะ. (2559). ปรัชญาปารมิตาหฤทัยสูตร. มูลนิธิโกมลคีมทอง.

Bai Z. J. 白照杰:“炼骨成真:中古道教仙骨信仰研究”,载《弘道》,2017年,第2期。

Cai R. X. 蔡日新:《中国禅宗的形成》,台北:云龙出版社,2000年。

Chen B. L. 陈宝良:“明代儒佛道的合流及其世俗化”,载《浙江学刊》,2002年,第2期。

Ding C. Y. 丁常云:“试论道教人文精神及其现代启示”,载《中国道教》,2008年,第5期。

Du W. P. 杜文平:“东方朔偷桃故事的演变及其文化阐释”,载《天中学刊》,2013 年,第1期。

Hu S. 胡适:《中国章回小说考证》,上海:上海书店,1980年。

Huang J. C., & Zheng, Y. 黄景春、郑艳:“从蟠桃到蟠桃会”,载《民俗研 究》,2009年,第2期。

Li X. Q. 李学勤:《礼记正义》,北京:北京大学出版社,1999年(a)。

Li X. Q. 李学勤:《论语注疏》,北京:北京大学出版社,1999年(b)。

Li Z. H. 李志宏:《“演义”明代四大奇书叙事研究》,台北:五南图书出版股份有限公司,2019年。

Liu Y. C. 刘樱村:““西游记”的现实性”,载作家出版社编辑部:《西游记研究论文集》,北京:作家出版社,1957年。

Liu Y. Q. 刘勇强:《西游记要论》,台北:文津出版社,1991年。

Lu X. 鲁迅:《中国小说史略》,北京:东方出版社,1996年。

Ma S. T. 马书田:《中国人的神灵世界》,北京:九州出版社,2001年。

Mao L. Y. 毛丽娅:“试论道教的和平观”,载《四川师范大学学报(社会科学版)》,2007年,第2期。

Nan H. J. 南怀瑾:《花雨满天维摩说法》,台北:南怀瑾文化事业有限公司,2014年。

Ning J. Y., & Feng Y. J. 宁稼雨、冯雅静:《《西游记》趣谈与索解》,沈阳: 春风文艺出版社,1997年。

Qian Z. L. 钱仲联:《中国文学大辞典》,上海:上海辞书出版社,2000年。

Qing X. T. 卿希泰:《中国道教(第一辑)》,上海:东方出版中心,1996年。

Qing X. T. 卿希泰:《道教与中国传统文化》,福州:福建人民出版社,1992年。

Qu X. Q. 屈小强:《《西游记》中的悬案》,成都:四川人民出版社,1994年。

Ren F. R. 任法融:《道德经释义》,香港:蓬瀛仙馆,2012年。

Ren J. Y. 任继愈:《佛教大辞典》,南京:江苏古籍出版社,2002年。

Shan C. 单纯:“禅宗的佛性论及其意义”,载《中国哲学史》,2005年,第3期。

Tao H. J. 陶弘景:《真诰》,北京:中华书局,2011年

Wang D. H., & Zhang, B. S. 王德恒、张宝树:《造神史话》,天津:百花文艺出版社,2002年。

Wang J. Z. 王齐洲:“《西游记》的风格与乐文化的转型”,载《西游记文化学刊》编委会:《西游记文化学刊(1)》,北京:东方出版社,1998年。

Wang M. 王明:《太平经合校》,北京:中华书局,1960年。

Wang S. S. 王四四:“孙悟空偷桃是东方朔偷桃和白猿偷桃之合璧”,载《兰台世 界》,2013年,9月(下旬)。

Wen, J. L. 文建龙:“孔子的先王崇拜心理及其对自身人生道路的影响”,载《南华大学学报(社会科学版)》,2018年,第1期。

Wen, J. Y. 温金玉:“达摩头陀行及其律学意蕴”,载《江西师范大学学报(哲学社会科学版)》,2004年,第4期。

Wu C. E. 吴承恩:《西游记》,北京:人民文学出版社,1997年。

Wu K. 吴康:《中华神秘文化辞典》,海口:海南出版社,2001年。

Xiao N. 肖能:《世道人心说《西游》》,上海:复旦大学出版社,2017年。

Xu, D. X. 许地仙:《道教史》,上海:上海古籍出版社,1999年。

Yin F. Z. 尹飞舟:《中国古代鬼神文化大观》,南昌:百花洲文艺出版社,1999年。

Zhang C. J. 张乘健:“孙悟空成型考”,载《温州师范学院学报(哲学社会科学 版)》,2001年,第1期。

Zhang D. X., & Mao, P. Q. 张德信、毛佩琦:《洪武御制全书》,合肥:黄山书社,1995年。

Zhang F. 张方:《明代全真道的衰而复兴:以华北地区为中心的考察》,北京:中国社会科学出版社,2018年。

Zhang, J. C. 张锦池:《中国四大古典小说论稿》,北京:华艺出版社,1997年(a)。

Zhang J. C. 张锦池:《西游记考论》,哈尔滨:黑龙江教育出版社,1997年(b)。

Zhang J. E. 张静二:《西游记人物研究》,台北:台湾学生书局,1984年。

Zhu Q. K. 朱其铠:“取经路上的孙悟空:再论《西游记》的思想政治倾向”,载江苏省社会科学院文学研究所编:《西游记研究》,南京:江苏古籍出版社,1984年。

Zhu Y. X., & Liu Y. C. 朱一玄、刘毓忱:《西游记资料汇编》,天津:南开大学出版社,2002年。