กลวิธีการใช้ภาษาเพื่อสื่ออารมณ์ขันในรายการ “ตามใจตุ๊ด”

Main Article Content

ฐาปนี สีทาจันทร์
นัทธมน คภะสุวรรณ
จุฬาลักษณ์ ลาพานิชย์
วิภาดา รัตนดิลก ณ ภูเก็ต
วุฒินันท์ แก้วจันทร์เกตุ

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาองค์ประกอบของการสื่อสารตามกรอบแนวคิดชาติพันธุ์วรรณนาแห่งการสื่อสารของไฮมส์ (Hymes, 1974) และกลวิธีการใช้ภาษาเพื่อสื่ออารมณ์ขันในรายการ “ตามใจตุ๊ด” โดยเก็บข้อมูลจากเว็บไซต์ยูทูบ (Youtube) ช่อง Tamjaitood official รวมจำนวน 5 เทปบันทึกรายการ ผลการศึกษาพบว่า องค์ประกอบการสื่อสารทั้ง 8 องค์ประกอบในรายการ “ตามใจตุ๊ด” มีส่วนสัมพันธ์กันที่ทำให้เข้าใจบริบทการสื่อสารและการใช้ภาษาในรายการ ส่วนกลวิธีการใช้ภาษาเพื่อสื่ออารมณ์ขันพบ  4 กลวิธี ได้แก่ กลวิธีการใช้คำพ้อง กลวิธีการใช้คำผวน กลวิธีการใช้ความกำกวม และกลวิธีการใช้ถ้อยคำนัยผกผัน ทั้งนี้ กลวิธีการใช้ภาษาในรายการ “ตามใจตุ๊ด” นอกจากจะใช้เพื่อสื่ออารมณ์ขันในรายการแล้ว ยังมีส่วนสำคัญที่ส่งผลให้รายการ “ตามใจตุ๊ด” ได้รับความนิยม

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

How to Cite
สีทาจันทร์ ฐ., คภะสุวรรณ น., ลาพานิชย์ จ., รัตนดิลก ณ ภูเก็ต ว., & แก้วจันทร์เกตุ ว. (2021). กลวิธีการใช้ภาษาเพื่อสื่ออารมณ์ขันในรายการ “ตามใจตุ๊ด” . วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 21(2), 274–298. https://doi.org/10.14456/lartstu.2021.27
บท
บทความวิจัย

References

กาญจนา เจริญเกียรติบวร. (2548). การวิเคราะห์วาทกรรมเรื่องตลกภาษาไทย [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

กาญจนา เจริญเกียรติบวร. (2548). การวิเคราะห์วาทกรรมเรื่องตลกภาษาไทย [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. อ้างถึง Freud, S. (1905). Jokes and Their Relation to the Unconscious. Cox & Wyman Ltd.

กาญจนา เจริญเกียรติบวร. (2548). การวิเคราะห์วาทกรรมเรื่องตลกภาษาไทย [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. อ้างถึง Kant, I. (1790). The Critique of Judgment. Clarendon Press.

จันทิมา หวังสมโชค. (2549). กลวิธีสื่ออารมณ์ขันในละครตลกสถานการณ์ของไทย [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ชนกพร พัวพัฒนกุล. (2556). ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับอุดมการณ์ในวาทกรรมการพยากรณ์ดวงชะตา: การวิเคราะห์วาทกรรมเชิงวิพากษ์ [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ณัฐพร พานโพธิ์ทอง. (2549). มองคัทลียาจ๊ะจ๋าจากมุมนักภาษา: เนื้อหาและกลวิธี. โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. อ้างถึง Panpothong, N. (1996). A Pragmatic study of verbal irony in Thai (Doctoral Dissertation). University of Hawai’i.

เถกิง พันธุ์เถกิงอมร. (2559). อารมณ์ขันในงานเขียนสารคดี: การวิเคราะห์วิจารณ์เชิงสร้างสรรค์. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ทินวัฒน์ สร้อยกุดเรือ. (2559). ชาติพันธุ์วรรณนาแห่งการสื่อสาร: แนวคิดและการประยุกต์ใช้ ในงานพิธีกร. วารสารนานาชาติ มหาวิทยาลัยขอนแก่น สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 6(2), 115-129.

ธิติสรณ์ ศรีธาดา. (2541). การใช้ภาษาในการแสดงตลก: การศึกษาวิเคราะห์ [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

นวรัตน์ อนุสรณ์ศรีเจริญ. (2543). วิเคราะห์เนื้อหาและกลวิธีการสร้างอารมณ์ขันในบทขำขันจากนิตยสารขายหัวเราะรายสัปดาห์ ปี พ.ศ. 2541 [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยนเรศวร.

พัชรีย์ จำปา และคณะ. (2559). เนื้อหาและการใช้คำสื่ออารมณ์ขันในรายการ “เทยเที่ยวไทย”. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา, 10(1), 1-21.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2554). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. http://www.royin.go.th/dictionary/

สํานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์และกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม. (2562). รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2561. ม.ป.ท.

สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. (2553). คำผวน. http://www.royin.go.th/?knowledges=คำผวน-๓๐-พฤศจิกายน-๒๕๕๓

อันธิยา หล่อเรืองศิลป์. (2549). การวิเคราะห์กลวิธีการใช้ภาษาเพื่อสร้างอารมณ์ขันในละครตลกสถานการณ์เรื่อง บางรักซอย 9 [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

Arthur, K. (1974). “Humour and Wit.” The New Encyclopedia Britannica. cited

Hobbes, T. (1651). Leviathan. Crooke.

Hymes, D. (1974). Foundations in Sociolinguistics: An Ethnographic Approach. University of Pennsylvania Press.

Levinson, J. (2005). The Oxford Handbook of Aesthetics. Oxford University Press. cited Aristotle. (1993). Poetics, trans. Malcolm Heath. Penguin.

Rainmaker. (2562). ประกาศผลรางวัล RAiNMaker Awards 2018. https://www.rainmaker.in.th/the-winner-rainmaker-awards-2018/