การอธิบายปรากฏการณ์ทางสังคมด้วยกระบวนทัศน์ทางเลือกเชิงเหตุผล: การทำแท้งในสังคมไทย
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้เป็นการศึกษาเพื่อทำความเข้าใจและอธิบายการทำแท้งในสังคมไทยด้วยปรัชญาสังคมศาสตร์ ปรากฏการณ์นี้ถูกวิเคราะห์ผ่านกระบวนทัศน์ทางเลือกเชิงเหตุผล ซึ่งเสนอว่าการกระทำของมนุษย์เกิดจากความเชื่อและเป้าหมายที่มีเหตุผล การที่ผู้หญิงในสังคมตัดสินใจทำแท้งจึงมีเหตุผลจากทางเลือกและตัดสินใจโดยคำนึงถึงประโยชน์สูงสุดบนพื้นฐานการให้เหตุผลทางเศรษฐกิจ อย่างไรก็ตามการศึกษาพบว่าการตัดสินใจ ทำแท้งไม่ได้อยู่บนพื้นฐานอรรถประโยชน์สูงสุดเสมอไป เนื่องจากการกระทำของบุคคลมักมีรากฐานของกรอบคิด ความคาดหวัง อารมณ์ การจินตนาการ และความขัดแย้งที่ไร้ตรรกะเข้ามาเกี่ยวข้อง วิธีการเลือกเชิงเหตุผลทางเศรษฐศาสตร์จึงไม่สามารถอธิบายปรากฏการณ์การทำแท้งได้อย่างเพียงพอ ดังนั้นการนำศาสตร์ทางพุทธิปัญญาเข้ามาจะช่วยขยายขอบเขตการทำความเข้าใจเหตุผลและอธิบายการเลือกของบุคคลในบริบททางวัฒนธรรมที่แตกต่างกันได้ดียิ่งขึ้น
Downloads
Article Details
References
กัญญาภัค แม๊กกี้. (2561). การบูรณาการหลักพุทธธรรมกับประโยชน์นิยมต่อการแก้ปัญหาการทำแท้ง. วารสารศึกษาศาสตร์ มมร, 6(1), 415-426.
กัลยา โกมุทสกุณี. (2521). ผู้ป่วยเนื่องจากการลักลอบทำแท้งที่รับไว้รักษาในโรงพยาบาลศิริราช ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการลักลอบทำแท้งในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: ธีระการพิมพ์.
จรรยา แก้วใจบุญ. (2560). ปัจจัยทำนายการดำรงการตั้งครรภ์หรือยุติการตั้งครรภ์: ทัศนะของวัยรุ่น. Journal of Nursing, Public Health, and Education. 18(2), 113-126.
นภาภรณ์ หะวานนท์. (2539). การตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์และการยุติการตั้งครรภ์: ประเด็นท้าทายนโยบายการให้บริการของรัฐ. วารสารการวิจัยระบบสาธารณสุข, 1, 45-54.
นิธินันท์ โกมล. (2553). ประสบการณ์ชีวิตของวัยรุ่นที่ตั้งครรภ์ไม่พึงปรารถนาภายหลังการทำแท้งแบบผิดกฎหมาย (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.
บูฆอรี ยีหมะ. (2543). ทฤษฎีการตัดสินใจเลือกอย่างมีเหตุผล (Rational Choice Theory): อีกหนึ่งความพยายามของสังคมศาสตร์ที่จะเป็นวิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ; จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ปวีณภัทร นิธิตันติวัฒน์, และขวัญใจ เพทายประกายเพชร. (2559). การตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์และการทำแท้ง: แนวทางป้องกันสำหรับวัยรุ่น. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี กรุงเทพ, 32(2), 133-146.
พัชรินทร์ ซำศิริพงษ์. (2562). การทำแท้งที่ผิดกฎหมายในประเทศไทย. วารสารสังคมศาสตร์วิชาการ, 12(1), 197-214.
พิชาย รัตนดิลก ณ ภูเก็ต. (2557). ปรัชญาสังคมศาสตร์: การอธิบายทางสังคมรากฐาน สำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 1). ห้างหุ้นส่วนจำกัดบางกอกบล็อก. กรุงเทพมหานคร.
พิชาย รัตนดิลก ณ ภูเก็ต. (2559). วิพากษ์การอธิบายทางเลือกเชิงเหตุผล. วารสารเศรษฐศาสตร์การเมือง, 1(1), 149-181.
มาลี เกื้อนพกุล, ทศพร เรืองกฤษ, และพัชรา อุบลสวัสดิ์. (2557). การตั้งครรภ์ที่ไม่พร้อมของวัยรุ่น: เหตุผลที่ไม่ยุติการตั้งครรภ์. Journal of health science research, 7(1), 38-49.
วรางคณา ชัชเวช, ศศิกานต์ กาละ, สุรีย์พร กฤษเจริญ, วัชรี จงไพบูลย์พัฒนะ, และกัลยาณี บุญสิน (2555). การพัฒนารูปแบบการเตรียมตัวเพื่อการคลอดสำหรับสตรีตั้งครรภ์และผู้ช่วยเหลือ. สงขลานครินทร์เวชสาร, 30(3), 143-151.
วิสูตร ฟองศิริไพบูลย์. (2551). แพทย์ยุติการตั้งครรภ์ (ทำแท้ง) ให้กับหญิงภายใต้เงื่อนไขที่แพทยสภากำหนด: กฎเกณฑ์ทันยุคที่แพทย์ไทยทุกคนต้องรู้. เวชบันทึกศิริราช, 1(2), 114-123.
วิอร โสมินทุ. (2559). การยุติการตั้งครรภ์: มุมมองของบุคลากรทางการศึกษา. Journal of Educational Administration, Silpakorn University, 7(1), 248-257.
ศานต์ฤทัย สาเพิ่มทรัพย์, และสมสุข หินวิมาน. (2561). การสร้างความหมายของผู้หญิงทำแท้งผ่านภาพ ตัวแทนในภาพยนตร์ไทย. Journal of Communication Arts, 37(3), 81-88.
สังคม ฮอหรินทร์. (2554). การทำแท้งกับกฎแห่งกรรมตามหลักพุทธศาสนาและกฎหมาย. AU Law Journal, 2(1).
สุทธิรักษ์ นภาพันธ์, และสมหวัง แก้วสุฟอง. (2559). การศึกษาวิเคราะห์เชิงจริยศาสตร์เรื่องการยุติการตั้งครรภ์ 43 ตามหลังการวินิจฉัยก่อนคลอด. Journal of Buddhist Studies, 7(2), 43-53.
สุวัฒน์ จันทรจำนง. (2525). การทำแท้งกับปัญหาทางการแพทย์และสังคม. กรุงเทพฯ: รุ่งเรืองสาส์น.
สุสัณหา ยิ้มแย้ม, สุจิตรา เทียนสวัสดิ์, และอำไพ จารุวัชรพาณิชยกุล. (2555). พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศและการตั้งครรภ์ที่ไม่ได้วางแผนของสตรีในสถานประกอบการในเขตเมืองภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย. Nursing Journal, 39(1), 10-22.
อรรถสิทธิ์ สุนาโท. (2553). มุมมองทางปรัชญากับปัญหาการทำแท้งในสังคมไทย. วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์, 5(10), 79-92.
Bhaskar, R. (1975). Feyerabend and bachelard: two philosophies of science. New Left Review, 94(3), 31-55.
Bhaskar, R. (1975). Forms of Realism. Philosophica. 15(1).
Elster, J. (1991). Nuts and Bolts: For the Social Sciences. Cambridge: Cambridge University Press.
Elster, J. (1991). Rationality and social norms. European Journal of Sociology/Archives Europeennes de Sociologie, 32(1), 109-129.
Elster, J. (Ed.). (1986). Rational choice. NYU Press.
Fay, B. (1996). Contemporary philosophy of social science: A multicultural approach, (1). Oxford: Blackwell.
Flyvbjerg, B. (2001). Making social science matter: Why social inquiry fails and how it can succeed again. Cambridge university press.
Gordon, M. (1991). Abortion: How do we really choose? In Good boys and dead girls: And other essays. New York: Penguin
Guba, E. G., & Lincoln, Y. S. (1994). Competing paradigms in qualitative research. Handbook of qualitative research, 2, 163-194.
Little, D. (1991). Varieties of social explanation. Boulder: Westview Press.
Outhwaite, W. (1999). The myth of modernist method. European Journal of Social Theory, 2(1), 5-25.
Ostrom, V., & Ostrom, E. (1971). Public choice: A different approach to the study of public administration. Public Administration Review, 31(2), 203-216.
Rosenberg, A. (2011). Philosophy of science: A contemporary introduction. Routledge.
Sen, A. (1982). Choice, Welfare and Measurement. Oxford: Basil Blackwell.
Smith, B. (2012). Ontology. In The furniture of the world (pp. 47-68). Brill Rodopi.