ความหลากหลายของระบบวรรณยุกต์และ วรรณยุกต์สนธิในภาษาลื้อ

Main Article Content

พิณรัตน์ อัครวัฒนากุล

บทคัดย่อ

ภาษาลื้อเป็นภาษาหนึ่งในกลุ่มภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ (Southwestern Tai) ภาษาลื้อถิ่นต่าง ๆ ส่วนใหญ่มีวรรณยุกต์ 6 หน่วยเสียง และบางถิ่นมีวรรณยุกต์ 5 หน่วยเสียง ภาษาลื้อที่พูดในบริเวณต่าง ๆ ทั้งทางตอนใต้ของประเทศจีน ลาว และไทยที่เคยมีผู้ศึกษาวิจัยและนำเสนอไว้มีความหลากหลายและมีการแปรของวรรณยุกต์อย่างชัดเจน นอกจากนี้ในภาษาลื้อยังมีปรากฏการณ์ทางเสียงประการหนึ่งที่น่าสนใจ คือ การเกิดวรรณยุกต์สนธิ (tone sandhi) ซึ่งเป็นปรากฏการณ์ที่พบไม่มากนักในภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ภาษาอื่น ๆ บทความวิชาการเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะนำเสนอภาพรวมของความหลากหลายของวรรณยุกต์และการแปรของวรรณยุกต์ในภาษาลื้อ รวมทั้งจะแสดงรูปแบบการเกิดวรรณยุกต์สนธิในภาษาลื้อถิ่นต่าง ๆ จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เคยมีผู้นำเสนอไว้ นอกจากนี้จะแสดงหลักฐานการเกิดวรรณยุกต์สนธิในภาษาลื้อถิ่นหนึ่งที่ได้จากการวิเคราะห์ทางกลสัทศาสตร์ (acoustic phonetics) ซึ่งยังปรากฏไม่มากนักในเอกสารและงานวิจัยอื่น ๆ ที่ผ่านมา

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

How to Cite
อัครวัฒนากุล พ. (2020). ความหลากหลายของระบบวรรณยุกต์และ วรรณยุกต์สนธิในภาษาลื้อ. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 20(2), 513–548. https://doi.org/10.14456/lartstu.2020.31
บท
บทความวิชาการ

References

โครงการพิพิธภัณฑ์วัฒนธรรมและชาติพันธุ์ล้านนา. (2551). ไทลื้อ อัตลักษณ์แห่งชาติพันธุ์. เชียงใหม่: โครงการพิพิธภัณฑ์วัฒนธรรมและชาติพันธุ์ล้านนา สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ณัฐพงษ์ เบ็ญชา. (2543). ลักษณะของภาษาไทลื้อบ้านทุ่งมอก ตำบลบ้านมาง อำเภอเชียงม่วน จังหวัดพะเยา (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ดุษฎีพร ชำนิโรคศานต์. (2526). ภาษาศาสตร์เชิงประวัติและภาษาไทเปรียบเทียบ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ธีระพันธ์ ล. ทองคำ. (2543). กระจกเงาสะท้อนภาพภาษาไทยโบราณ. วารสารอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 29(1), 2–13.

นันทริยา ลำเจียกเทศ. (2530). ระบบเสียงภาษาลื้อที่ จ.ลำปาง. วารสารมนุษยศาสตร์, 14(1–2), 82–93.

นิภา อัมพรพรรดิ์. (2529). ลักษณะของภาษาไทลื้อที่ตำบลป่าคา อำเภอท่าวังผา จังหวัดน่าน (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ปราณี กุลละวณิชย์. (2527). ภาษาไทเปรียบเทียบ. ภาควิชาภาษาศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ผณินทรา ธีรานนท์. (2553). การเปลี่ยนแปลงของคำศัพท์และเสียงวรรณยุกต์ในภาษาไทลื้อจังหวัดเชียงราย ตามกลุ่มอายุและความสะดวกของการคมนาคม (รายงานการวิจัย). เชียงราย: มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง.

พรเพ็ญ ตันประเสริฐ. (2555). ระบบเสียงวรรณยุกต์ในภาษาไทลื้อในสิบสองปันนา. วารสารเผยแพร่ความรู้ทางวิชาการและงานวิจัย, 19(1), 99–113.

พิณรัตน์ อัครวัฒนากุล. (2555). การแปรและการเปลี่ยนแปลงทางศัพท์และเสียงในภาษาไทถิ่นที่พูดในจังหวัดน่าน (รายงานการวิจัย). สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาและสำนักกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

มีวรรณ ลีรวัฒน์ และคณะ. (2525). พจนานุกรมภาษาไทยเปรียบเทียบ กรุงเทพ เชียงใหม่ ไทยลื้อ ไทยดำ. เชียงใหม่: คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

เมชฌ สอดส่องกฤษ. (2559). นานาภาษาในประเทศจีนตอนใต้ ภาคที่ 2: ภาษาตระกูลไท (เล่ม 1). อุบลราชธานี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.

รุ่งวิมล รุ่งโรจน์สุวรรณ. (2551). การสัมผัสภาษา: ปัจจัยที่มีผลต่อการแปรและการเปลี่ยนแปลงเสียงวรรณยุกต์ในภาษาตระกูลไท บ้านสันทรายกองงาม อําเภอเชียงแสน จังหวัด เชียงราย. ในนันทนา รณเกียรติ และอมร แสงมณี (บรรณาธิการ). รวมบทความ ภาษาศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (น. 88–107). กรุงเทพฯ: ภาควิชาภาษาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2548). ภาษาในสังคมไทย: ความหลากหลาย การเปลี่ยนแปลง การพัฒนา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Abramson, A. (1979). The coarticulation of tones: An acoustic study of Thai. In T. L-Thongkum, P. Kullavanijaya, V. Panupong & M.R. K. Tingsabadh (Eds.), Studies in Tai and Mon-Khmer Phonetics and Phonology in Honour of Eugenie J. A. Henderson, pp. 1-9. Bangkok: Chulalongkorn University Press.

Akharawatthanakun, P. (2018). Tone systems and tone variation in Lue (Luang Nuea). Proceedings of Payap Research Symposium 2018, 754–770.

Bao, Z. (1999). The Structure of Tone. New York & Oxford: Oxford University Press.

Brown, J. M. (1965). From Ancient Thai to Modern Dialects. Bangkok: White Lotus Co., LTD.

Chaimano, K. (2009a). Tonal Variation of Tai Lue Spoken in Thailand (Doctoral Dissertation). Mahidol University, Nakhon Pathom.

Chaimano, K. (2009b). Tonal variation in the Lue dialects of Thailand. MANUSYA: Journal of Humanities, Special Issue, 17, 1–19.

Chamberlain, J. R. (1975). A new look at the history and classification of the Tai dialects. In J. G. Harris and J. R. Chamberlain (Eds.), Studies in Tai Linguistics in Honor of William J. Gedney (pp. 49–60). Bangkok: Central Institute of English Language, Office of State Universities.

Chen, M.Y. (2000). Tone Sandhi: Patterns Across Chinese Dialects. UK: Cambridge University Press.

Crystal, D. (2008). A Dictionary of Linguistics and Phonetics, sixth edition. USA: Blackwell Publishers.

Gandour, J., Potisuk, S., Dechongkit, S., Ponglorpisit, S. (1992a). Tonal coarticulation in Thai disyllabic utterances: A preliminary study. Linguistics in the Tibeto-Burman Area 15: 93–110.

Gandour, J., Potisuk, S., Dechongkit, S., Ponglorpisit, S. (1992b). Anticipatory tonal coarticulation in Thai noun compounds. Linguistics in the Tibeto-Burman Area 15: 111–124.

Gedney, W. J. (1972). A checklist for determining tones in Tai dialects. In M.E. Smith (Ed.), Studies in Linguistics in Honor of George L. Trager (pp. 423–437). The Hague: Mouton.

Goddard, C. (2005). The Language of East and Southeast Asia: An Introduction. New York: Oxford University Press.

Hudak, T. J. (Ed.). (1994). William J. Gedney’s Southwestern Tai Dialects: Glossary, Texts, and Translations. USA: Center for South and Southeast Asian Studies, The University of Michigan.

Hudak, T. J. (2008). William J. Gedney’s Comparative Tai Source Book. Oceanic Linguistics Special Publication No. 34. Honolulu: University of Hawai’i Press.

Intajamornrak, C. (2011). Tonal variation and change in Tai Lue spoken in Phrae province. In S. van Breugel (Ed.), Proceedings of the Thammasat International Symposium on Language and Linguistics, 4–22.

Kullavanijaya, P., & L-Thongkum, T. (2000). Linguistic criteria for determining Tai ethnic groups: Case studies on Central and Southwestern Tais. Proceedings of the International Conference on Tai Studies, July 29-31, 1998, 273–297. Bangkok: Institute of Language and Culture for Rural Development, Mahidol University.

Li, F-K. (1960). A tentative classification of Tai dialects. In S. Diamond (Ed.), Culture in History: Essays in Honor of Paul Radin (pp. 951–959). New York: Columbia University Press.

Li, F-K. (1962). Initials and tonal development in Tai dialects. Bulletin of the Institute of History and Philology, 34, 31–36.

Li, F-K. (1964). The phonemic system of the Tai Lü language. Bulletin of the Institute of History and Philology, 35, 7–14.

Li, F-K. (1966). The relationship between tones and initials in Tai. In H.Z. Norman (Ed.), Studies in Comparative Austro-Asiatic Linguistics (pp. 82–88). The Hague: Mouton.

Williams, G. (1986). Linguistic Variation of Tai-Lue. (Master’s Thesis). University of Auckland.

Snyder, W. C., & Tianqiao, L. (1997). Wuming Zhuang tone sandhi: A phonological, syntactic, and lexical investigation. In J. A. Edmonson & D. B. Solnit (Eds.) Comparative Kadai: The Tai Branch (pp. 107–137). Dallas, TX: The Summer Institute of Linguistics and The University of Texas at Arlington.

Zhang, J., & Liu, J. (2011). Tone sandhi and tonal coarticulation in Tianjin Chinese. Phonetica 68, 161–191.