รูปเคารพเจิ้งเหอในสังคมไทย

Main Article Content

สุรสิทธิ์ อมรวณิชศักดิ์

บทคัดย่อ

บทความนี้มุ่งสำรวจลักษณะและวิเคราะห์รูปเคารพของเจิ้งเหอที่ปรากฏอยู่ในสังคมไทย และทำความเข้าใจถึงความเชื่อความศรัทธาที่นำไปสู่การสร้างรูปเคารพของเจิ้งเหอ เบื้องต้นพบว่า รูปเคารพเจิ้งเหอในสังคมไทย  มีอยู่ด้วยกัน 3 ลักษณะ ได้แก่ 1) พระพุทธรูปตามคติพุทธศาสนานิกายเถรวาท นามว่า หลวงพ่อโต “ซำปอกง” 2) พระภิกษุในพุทธศาสนาแบบจีนนิกาย และ 3) เทพเจ้าตามคติจีน จากบันทึกทางประวัติศาสตร์ ระบุว่า แม่ทัพกองเรือมหาสมบัติแห่งราชวงศ์หมิงผู้นี้เคยเดินทางมาเยือนดินแดนประเทศไทยถึง 3 ครั้ง และอาจเคยร่วมบุญบูรณะวัดพนัญเชิงหรือพระพุทธรูปองค์ใหญ่ของวัดแห่งนี้ ซึ่งต่อมาผู้คนพากันขนานนามพระพุทธรูปองค์นี้ว่า “ซำปอกง”

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

How to Cite
อมรวณิชศักดิ์ ส. (2020). รูปเคารพเจิ้งเหอในสังคมไทย . วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 20(2), 21–52. https://doi.org/10.14456/lartstu.2020.14
บท
บทความวิจัย

References

กนกพร นุ่มทอง. (2553). การศึกษาการแปลวรรณกรรมจีนเรื่องไซฮั่นในสมัยรัชกาลที่ 1. กรุงเทพฯ: จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์.

กรมการศาสนา. (2551). พระอารามหลวง เล่ม 1. กรุงเทพฯ: กรมการศาสนา.

กองบรรณาธิการข่าวสด. (2552). เดินสายไหว้พระพุทธทั่วไทย. กรุงเทพฯ: มติชน.

จุฑามาศ ประมูลมาก และสุรสิทธิ์ อมรวณิชศักดิ์. (2554). ตำนานว่าด้วย “ธิดาพระเจ้ากรุงจีน” ในสังคมสยาม. วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 4(4), 44-68.

จี. วิลเลียม สกินเนอร์. พรรณี ฉัตรพลรักษ์ และคณะ แปล. (2548). สังคมจีนในประเทศไทย: ประวัติศาสตร์เชิงวิเคราะห์. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ และสมถวิล ลือชาพัฒนพร (บรรณาธิการ). (2549). 30 ปี ความสัมพันธ์ไทย-จีน 600 ปี ซำปอกง/เจิ้งเหอ กับอยุธยาและอุษาคเนย์. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโตโยต้าประเทศไทย.

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ. (2542). อยุธยา: ประวัติศาสตร์และการเมือง. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโตโยต้าประเทศไทย.

ถาวร สิกขโกศล. (2562). จากจีนสู่ปุนเถ้าก๋ง และตั้วแป๊ะกงในโพ้นทะเล. ศิลปวัฒนธรรม, 40(4).

ทิพากรวงศมหาโกษาธิบดี (ขำ บุนนาค), เจ้าพระยา. (2548). พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 4. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.

นริศรานุวัดติวงศ์, สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยา และดำรงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระยา. (2504). สาส์นสมเด็จ เล่ม 12. พระนคร: องค์การค้าของคุรุสภา.

ปริวัฒน์ จันทร. (2548). 600 ปี สมุทรยาตราเจิ้งเหอ: แม่ทัพเรือผู้กลายมาเป็นเทพเจ้า “ซําปอกง” อันศักดิ์สิทธิ์. กรุงเทพฯ: มติชน.

ปริวัฒน์ จันทร. (2553). เจิ้งเหอ แม่ทัพขันที “ซำปอกง” (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: มติชน.

พรพิไล เลิศวิชา บรรณาธิการ. (2543). นิราศสุนทรภู่. กรุงเทพฯ: ธารปัญญา.

พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา (หลวงสารประเสริฐและฉบับกรมพระปรมานุชิตฯ) และพงศาวดารเหนือ ฉบับพระวิเชียรปรีชา (น้อย) เล่ม 1. (2504). พระนคร: องค์การค้าของคุรุสภา.

พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา (หลวงสารประเสริฐและฉบับกรมพระปรมานุชิตฯ) และพงศาวดารเหนือ ฉบับพระวิเชียรปรีชา (น้อย) เล่ม 2. (2504). พระนคร: องค์การค้าของคุรุสภา.

พิเศษ เจียจันทร์พงษ์ (ประธานคณะบรรณาธิการ). (2544). วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดพังงา. กรุงเทพฯ: คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ ในคณะกรรมการอำนวยการจัดงานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว.

ภาษิต จิตรภาษา. (2548). ภาษาใหม่: ความเป็นมาของ “คำ” และ “ความหมาย”. กรุงเทพฯ: มติชน.

มานิต มานิตเจริญ. (2547). พจนานุกรมไทย ฉบับสมบูรณ์-ปรับปรุงใหม่ (พิมพ์ครั้งที่ 22). กรุงเทพฯ: รวมสาส์น (1977).

มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย. (2542). สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคกลาง. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิชย์.

วินัย พงศ์ศรีเพียร. (2559). หมิงสือลู่-ชิงสือลู่ บันทึกเรื่องจริงแห่งราชวงศ์หมิงและราชวงศ์ชิงฯ. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา.

ส. พลายน้อย. (2545). พระพุทธรูปสำคัญในประเทศไทย เล่ม 1. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ.

ส.พลายน้อย. (2556). เรื่องเล่าชาวกรุงเก่า. กรุงเทพฯ: พิมพ์คำ.

สิทธิพล เครือรัฐติกาล. (2553). ภาพลักษณ์ของเจิ้งเหอในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของจีน (วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ.

สืบแสง พรหมบุญ. (2549). เจิ้งเหอ ซำปอกงและอุษาคเนย์. กรุงเทพฯ: มติชน.

สุภัทรดิศ ดิศกุล, หม่อมเจ้า และคณะ. (2551). โบราณสถานในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เล่ม 1. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร.

สุรสิทธิ์ อมรวณิชศักดิ์. (2556). ปุนเถ้ากง: เทพ “เจ้าที่” จีนในสังคมไทย. หนังสือรวมบทความวิชาการ การประชุมทางวิชาการจีนศึกษาระดับนานาชาติ ครั้งที่ 1 “จีนภิวัฒน์ในมิติภาษา วรรณกรรม การสอน และวัฒนธรรมศึกษา”. กรุงเทพฯ: สาขาวิชาภาษาจีน คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.

แสงอรุณ กนกพงศ์ชัย. (2550). วิถีจีน-ไทยในสังคมสยาม (พิมพ์ครั้งแรก). กรุงเทพฯ: มติชน.

อธิบายแผนที่พระนครศรีอยุธยา กับคำวินิจฉัยของพระยาโบราณราชธานินทร์ ฉบับชำระครั้งที่ 2 และภูมิสถานกรุงศรีอยุธยา. (2550). กรุงเทพฯ: ต้นฉบับ.

Cai, H. B. (2000). Quanzhou shigao. Quanzhou: Quanzhou luyou zhiye zhongzhuan xuexiao. [ 蔡洪波編著:《泉州史稿》,泉州:泉州旅遊職業中專學校,2000年。]

Cai, X. H. (2016). “Tianfei xianshenglu” yu Mazu xinyang. Taipei: Duli zuojia. [ 蔡相 煇:《〈天妃顯聖錄〉與媽祖信仰》,臺北:獨立作家,2016年。]

Chen, D. K. (2000). Mingdai xiaoshuoshi. Shanghai: Shanghai wenyi chubanshe. [ 陳大康著:《明代小說史》,上海:上海文藝出版社,2000年。]

Chen, S. Y. (2000). Jiechu hanghaijia Zheng He. Taizhong: Chenxing. [ 陳水源撰:《傑出航海家鄭和》,臺中:晨星,2000年。]

Chen, Z. P. (2001). Fujian liu da minxi. Fuzhou: Fujian renmin chubanshe. [ 陳支平著:《福建六大民系》,福州:福建人民出版社,2001年。]

Deng, S. J. (2004). Zhongguo gudai xiqu wenxue cidian. Beijing: Renmin wenxue chubanshe. [ 鄧紹基主編:《中國古代戲曲文學辭典》,北京:人民文學出版社,2004年。]

Dong, Y. R. (2008). Taijian Zheng He de huxu zhi mi. Retrieved from http://www.people.com.cn/GB/keji/1058/2717148.html [ 董毅然:“太監鄭和的胡須之謎”,載人民網,2008年08月17日。http://www.people.com.cn/GB/keji/1058/2717148.html ]

Duan, L. S. (1996). Taiguo de zhongshi simiao. Bangkok: Taiguo datongshe chuban youxian gongsi. [ 段立生著:《泰國的中式寺廟》,曼谷:泰國大同社出版有限公司,1996年。]

Feng, H. Y. (2005). “Xiyangji yuanyu xiju”. In Wenshi zazhi, 2005(4). [ 馮漢鏞:“《西洋記》源於戲劇”,載《文史雜誌》,2005年第4期。]

Gong, Z. (2017). Xiyang fanguozhi. D. Xiang (Ed.). Beijing: Huawen chubanshe. [ 鞏珍著;向達校注:《西洋番國志》,北京:華文出版社,2017年。]

Guo, L. & Zhao, Z. H. (1999). “Zheng He xia xiyang mudi bianxi”. In Huaibei meitan shifan xueyuan xuebao (zhexue shehui kexueban), 1999(1). [ 郭琳、趙志輝:“鄭和下西洋目的辨析”,《淮北煤炭師範學院學報(哲學社會科學版)》,1999 年第1期。]

Jiangsusheng shekeyuan mingqing xiaoshuo yanjiu zhongxin. (1997). Zhongguo tongsu xiaoshuo zongmu tiyao. Beijing: Zhongguo wenlian chubanshe. [ 江蘇省社科院明清小說研究中心:《中國通俗小說總目提要》,北京:中國文聯出版社,1997年。]

Lang, Y. (2009). Qixiuleigao. Shanghai: Shanghai shudian chubanshe. [ 朗英撰:《七修類稿》,上海:上海書店出版社,2009年。]

Li, D. G. (2001). “Xianluoguo si Zheng He Sanbaomiaokao -- du Dongxiyangkao”. In Dongnanya yanjiu, 2001(3). [ 黎道綱:“暹羅國祀鄭和三寶廟考———讀 《東西洋考》” ,載《東南亞研究》,2001年第3期。]

Lin, J. Y. (1988). Zhongguo shenming baike baodian. Taipei: Jinyuan shuju. [ 林進源編著:《中國神明百科寶典》,臺北:進源書局,1988年。]

Luo, M. D. (2001). Sanbao taijian xiyangji. Beijing: Kunlun chubanshe. [ 羅懋登:《三寶太監西洋記》,北京:昆侖出版社,2001年。]

Qian, Z. L. (2000). Zhongguo wenxue dacidian. Shanghai: Shanghai cidian chubanshe. [ 錢仲聯等著:《中國文學大辭典》,上海:上海辭書出版社,2000年。]

Shi, N. A. & Luo, G. Z. (1996). Shuihuzhuan. Beijing: Renmin wenxue chubanshe. [ 施耐庵、羅貫中著:《水滸傳》,北京:人民文學出版社,1996年。]

Shi, X. Q. (2006). “Dongnanya huaren minjian xinyan zhong de “Zheng He chongbai””. In Baguiqiaokan, 2006(3). [ 施雪琴:“東南亞華人民間信仰中的“鄭和崇拜””, 載《八桂僑刊》,2006年第3期。]

Uesugi, C., (2005). Zheng He xia xiyang. Taipei: Shangzhou chuban. [上杉千年著:《鄭和下西洋》,臺北:商周出版,2005年。]

Wang, G. W. (1988). Nanhai maoyi yu nanyang huaren. N. Yao (Ed.). Hong Kong: Zhonghua shuju Xianggang fenju. [ 王賡武著;姚楠編譯:《南海貿易與南洋華人》,香港:中華書局香港分局,1988年。]

Wang, L. M. (2011). “Lun Zhongguo gudai hanghai wenhua diyun -- yi Zheng He xia xiyang de Quanzhou yuansu wei shidian”. In Dongfang luntan, 2011(3). [ 王麗明:“論中國古代航海文化底蘊——以鄭和下西洋的泉州元素為視點”,載 《東方論壇》,2011年第3期。]

Wang, S. Z. (2013). Yanshantang bieji. L. K. Wei (Ed.). Beijing: Zhonghua shuju. [ 王世貞撰;魏連科點校:《弇山堂别集》,北京:中華書局,2013年。]

Wu, C. E., (1996). Xiyouji. Beijing: Renmin wenxue chubanshe. [ 吳承恩著:《西遊 記》,北京:人民文學出版社,1996年。]

Xu, G. S. (2015). “Zheng He yu Quanzhou guanxi xinzheng -- zupu li de Zheng Xu lianyin”. In Haijiaoshi yanjiu, 2015(2). [ 徐恭生:“鄭和與泉州關係新證——族譜裏的鄭徐聯姻”,載《海交史研究》,2015年第2期。]

Yan, C. J. (2000). Shuyu zhouzilu. S. L. Yu (Ed.). Beijing: Zhonghua shuju. [ 嚴從簡著;余思黎點校:《殊域周咨錄》,北京:中華書局,2000年。]

Yin, Y. Z. (1980). “Zheng He mingzi xiaokao”. In Ningxia Daxue xuebao (zhexue shehui kexueban), 1980(4). [ 殷遠卓:“鄭和名字小考”,《寧夏大學學報(哲學社會科學版)》,1980年第4期。]

Zeng. L. (2008). Dongnanya de “Zheng He jiyi” yu wenhua quanshi. Hefei: Huangshan Shushe. [ 曾玲主編:《東南亞的“鄭和記憶”與文化詮釋》,合肥:黃山書社,2008年。]

Zhang, X. (2000). Dongxiyangkao. F. Xie (Ed.). Beijing: Zhonghua Shuju. [ 張燮著; 謝方點校:《東西洋考》,北京:中華書局,2000年。]

Zhang, X. F. (2001). Daojiao shenxian xinyang. Beijing: Zhongguo shehui kexue chubans he. [ 張興發編著:《道教神仙信仰》,北京:中國社會科學出版社,2001年。]

Zheng, H. S. & Zheng, Y. J. (2005). Zheng He xia xiyang ziliao huibian. Beijing: Haiyang chubanshe. [ 鄭鶴聲、鄭一鈞編:《鄭和下西洋資料匯編》,北 京:海洋出版社,2005年。]