ปัญหาการแปลภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาไทย -ปัญหาเกี่ยวกับโครงสร้างประโยค-

Main Article Content

สมเกียรติ เชวงกิจวณิช

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาการแปลจากภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาไทยเกี่ยวกับโครงสร้างประโยค โดยวิเคราะห์ข้อมูลการแปลของผู้เรียนภาษาญี่ปุ่นชาวไทย ผลการวิเคราะห์พบปัญหาการแปลเกี่ยวกับโครงสร้างประโยครวม 893 ตัวอย่าง โดยแบ่งออกเป็น 1) ปัญหาเกี่ยวกับการทำความเข้าใจความหมายของต้นฉบับ ซึ่งพบว่าผู้แปลส่วนหนึ่งมีแนวโน้มมุ่งพิจารณาเฉพาะความหมายของคำศัพท์โดยขาดการพิจารณาโครงสร้างประโยคอย่างรอบคอบ 2) ปัญหาเกี่ยวกับการถ่ายทอดเป็นภาษาฉบับแปล ซึ่งพบว่าผู้แปลส่วนหนึ่งเข้าใจความหมายของคำในต้นฉบับแต่เลือกใช้คำแปลได้ไม่ถูกต้อง หรือไม่เหมาะสม โดยผู้แปลมีแนวโน้มยึดติดกับคำแปลแบบตรงตัวของคำที่ปรากฏในต้นฉบับและลำดับคำของต้นฉบับ จนส่งผลให้บทแปลไม่อาจถ่ายทอดความหมายได้อย่างถูกต้องและเป็นธรรมชาติ หรือผู้แปลขาดความรอบคอบในการเลือกใช้โครงสร้างประโยคที่ถูกต้อง เหมาะสม

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

How to Cite
เชวงกิจวณิช ส. (2020). ปัญหาการแปลภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาไทย -ปัญหาเกี่ยวกับโครงสร้างประโยค-. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 20(1), 40–67. https://doi.org/10.14456/lartstu.2020.3
บท
บทความวิจัย

References

เข้ม แสงคำ. (2556). การศึกษากลวิธีการแปลการ์ตูนภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาไทย (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ.

ณัฏฐิรา ทับทิม. (2556). การศึกษาวิธีการและประเภทการแปลคำเลียนเสียงธรรมชาติและคำบอกอาการ หรือสภาพจากภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาไทย. วารสารญี่ปุ่นศึกษา, 30(1), 41-56.

ดวงตา สุพล. (2541). ทฤษฎีและกลวิธีการแปล. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นรีนุช ดำรงชัย. (2555). ความคาดหวังและความพึงพอใจต่อคุณสมบัติของผู้จบการศึกษาด้านญี่ปุ่นศึกษาในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

น้ำทิพย์ เมธเศรษฐ, และสมเกียรติ เชวงกิจวณิช. (2546). การถ่ายทอดวัฒนธรรมในงานแปลวรรณกรรมญี่ปุ่นเป็นภาษาไทย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

พรชัย พรวิริยะกิจ, และวรินทร แดนดี. (2558). ข้อผิดพลาดในการแปลภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทยของนักศึกษาสาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสากล. วารสารสังคมศาสตร์, 4(2), 16-24.

วรนาถ วิมลเฉลา. (2543). คู่มือสอนแปล. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สมเกียรติ เชวงกิจวณิช. (2558). กลวิธีการแปลสำนวนแสดงวัฒนธรรมภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาไทย. วารสารญี่ปุ่นศึกษา, 32(2), 103-118.

สมเกียรติ เชวงกิจวณิช. (2560ก). เทคนิคการแปลภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาไทยให้เป็นธรรมชาติ -วิเคราะห์การแปลเอกสารธุรกิจ-. วารสารอักษรศาสตร์, 46(1), 210-246.

สมเกียรติ เชวงกิจวณิช. (2560ข). ปัญหาการแปลภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาไทยและสาเหตุของปัญหา. วารสารญี่ปุ่นศึกษา, 34(2), 75-91.

สมเกียรติ เชวงกิจวณิช. (2561ก). ปัญหาการแปลภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาไทย -การแปลคำศัพท์-. วารสารอักษรศาสตร์, 47(2), 271-330.

สมเกียรติ เชวงกิจวณิช.(2561ข). แนวคิดและเทคนิค การแปลภาษาญี่ปุ่น-ไทย. ปทุมธานี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สุณีย์รัตน์ เนียรเจริญสุข. (2546). ความพึงพอใจของผู้จ้างงานบัณฑิตภาควิชาภาษาญี่ปุ่น มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สุพรรณี ปิ่นมณี. (2555). แปลผิด แปลถูก คัมภีร์การแปลยุคใหม่. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุพรรณี อาศัยราช, ทัศนีย์ จันติยะ, และจิราภรณ์ กาแก้ว. (2560). ปัญหาและกลวิธีการแปลบทความทางการศึกษาจากภาษาอังกฤษเป็นไทยของนิสิตสาขาภาษาอังกฤษศึกษา. วารสารศาสตร์การศึกษาและการพัฒนามนุษย์, 1(1), 71-85.

สุรัตน์ ศรีราษฎร์, และรจเรข รุจนเวช. (2560). ข้อบกพร่องในการเขียนของนักศึกษาวิชาเอกภาษาญี่ปุ่นชั้นปีที่ 2 คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. วรรณวิทัศน์, 17, 219-250.

สุวัธน์ เรืองศรี. (2561). การแปลคำบุรุษสรรพนามในวรรณกรรมญี่ปุ่นแปลไทย. เครือข่ายญี่ปุ่นศึกษา [ฉบับพิเศษ], 8(3), 116-130.

Chuugoku IPG kanri, & Jouhou senmon iinkai. (2017). Nihongo kara chuugokugo e honyaku suru sai no honyaku hinshitsu koujou ni kansuru handobukku. Retrieved from https://www.jetro.go.jp/ext_images/world/asia/cn/ip/ipg/2016/04.pdf

Collier-Sanuki, Y. (1993). Word order and discourse grammar: A contrastive analysis of Japanese and English relative clauses in written narratives. Los Angeles: University of California.

Ichikawa, Y. (2013). Gaikokujin nihongo gakushuusha no bunpouteki yosokunoury oku o dou sodateru ka –Shokyuu dankai no gakushuusha ni mukete-. Kokusai kouryuu kikin bankoku nihon bunka sentaa nihongo kyouiku kiyou, 10, 1-14.

Imai, Y. (2009). Honyakusho ni arawareta goyaku ni yoru nikkan taishou gengo kenkyuu no kokoromi -Nihongo kyouiku e no teigen. Kyouto sangyou daigaku ronshuu jinbun kagaku keiretsu, 40, 1-14.

Ishiguro, K. (2010). Sukkiri tsutawaru bijinesu bunsho. Tokyo: Koubunsha.

Matsumoto, Y. (1991). Is it really a topic that is relativized ? Arguments from Japanese.” the 27th Regional Meeting of the Chicago Linguistic Society, 388-402.

Noda, H., Hanada, J., & Fujiwara, M. (2017). Joukyuu nihongo gakushuusha wa gakujutsu ronbun wo donoyouni yomiayamaru ka -Chuugokugo wo bogo to suru daigaku’insei no chousa kara. Nihongo kyouiku, 167, 15-29.

Ohara, K. (2001). Kikai honyaku kara mita nihongo. Senmon nihongo kyouiku kenkyuu, 3, 5-8.

Reiss, K. (1977/1989). Text-types, translation types and translation assessment. In A. Chesterman (Ed.). Readings in translation theory (pp.105-115). Finland: Oy Finn Lectura Ab.

Sunakawa, Y. (1990). Shudai no shouryaku to hi-shouryaku. Bungeigengokenkyuu gengohen, 18, 15-34.

Yamamoto, K. (2010). Recent developments and perspectives on translation studies in Thai context.” The 2nd International conference on language and communication “Dynamism of language and communication in society” proceedings, 25-33.

Yutani, Y. (2002). Goyaku ni motozuku nikkan taishou kenkyuu. Gengo bunka, 5(1), 75-92.