การปกครองท้องถิ่นไทยในยุครวมศูนย์อำนาจ
คำสำคัญ:
การปกครองท้องถิ่นไทย, รวมศูนย์อำนาจบทคัดย่อ
บทความนี้เป็นการวิเคราะห์ถึงลักษณะการปกครองท้องถิ่นในยุครวมศูนย์ที่เกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5 คือ สุขาภิบาลกรุงเทพมหานครและที่อื่นๆ ยังไม่ใช่องค์กรปกครองท้องถิ่นตามหลักการกระจายอำนาจในทางทฤษฎีเพราะอำนาจในการดำเนินการทั้งหมดเป็นอำนาจของราชการทั้งสิ้น ในขณะที่สุขาภิบาลท่าฉลอมมีลักษณะบางประการเท่านั้นที่สอดคล้องกับหลักการปกครองท้องถิ่น แต่ภาพรวมของสุขาภิบาลท่าฉลอมก็ยังอยู่ในอำนาจของข้าหลวงเทศาภิบาลเป็นสำคัญ แม้จะมีตัวแทนของประชาชนในท้องถิ่นเป็นกรรมการอยู่บ้างแต่อำนาจในการบริหารอยู่ที่คณะกรรมการบริหารซึ่งเป็นกำนันผู้ใหญ่บ้านที่อยู่ภายใต้การบังคับบัญชาของราชการอย่างเคร่งครัด ในขณะที่ราษฎรในเขตสุขาภิบาลท่าฉลอมเองก็ยังไม่มีความรู้ที่เพียงพอเกี่ยวกับภารกิจของการสุขาภิบาลท่าฉลอมและยังไม่ประสบการณ์ในการปกครองท้องถิ่นของตนเอง.
References
กระทรวงมหาดไทย. (2513). ประมวลพระราชหัตถเลขา รัชกาลที่ 5 เกี่ยวกับภารกิจของกระทรวงมหาดไทย. พระนคร: โรงพิมพ์ส่วนท้องถิ่น.
จักรกฤษณ์ นรนิติผดุงการ. (2527). สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดำรงราชานุภาพกับกระทรวงมหาดไทย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์.
ตระกูล มีชัย และจุมพล หนิมพานิช. (2545). รายงานการศึกษาประเมินความก้าวหน้าของการกระจายอำนาจในประเทศไทย ส่วนแรก: ผลการสำรวจสถานภาพและพัฒนาการการกระจายอำนาจและการปกครองท้องถิ่นในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า.
ประหยัด หงษ์ทองคำ และพรศักดิ์ ผ่องแผ้ว. (2529). ปัญหาและแนวทางปรับปรุงประสิทธิภาพของการบริหารเทศบาลไทย. กรุงเทพฯ: คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พระราชบัญญัติลักษณะการปกครองท้องที่ เรื่อง พระราชบัญญัติลักษณะการปกครองท้องที่ ร.ศ.116 (2440, 30 พฤศจิกายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 14 แผ่นที่ 9หน้า 517.
พระราชกำหนดสุขาภิบาลกรุงเทพ เรื่อง พระราชกำหนดสุขาภิบาลกรุงเทพฯ รัตนโกสินทร์ ศก 116 (2440, 21 พฤศจิกายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 14 ตอน 34 หน้า 517.
โอฬาร ถิ่นบางเตียว. (2561). ตำราประวัติศาสตร์การปกครองท้องถิ่นไทย. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายลิขสิทธิ์ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องลงลายมือชื่อในแบบฟอร์มใบมอบลิขสิทธิ์บทความให้แก่วารสารฯ พร้อมกับบทความต้นฉบับที่ได้แก้ไขครั้งสุดท้าย นอกจากนี้ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์นั้น ได้ส่งมาตีพิมพ์เฉพาะในวารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์ เพียงแห่งเดียวเท่านั้น หากมีการใช้ภาพหรือตารางหรือเนื้อหาอื่นๆ ของผู้นิพนธ์อื่นที่ปรากฏในสิ่งตีพิมพ์อื่นมาแล้ว ผู้นิพนธ์ต้องขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ์ก่อน พร้อมทั้งแสดงหนังสือที่ได้รับการยินยอมต่อบรรณาธิการ ก่อนที่บทความจะได้รับการตีพิมพ์ หากไม่เป็นไปตามข้อกำหนดเบื้องต้น ทางวารสารจะถอดบทความของท่านออกโดยไม่มีข้อยกเว้นใดๆ ทั้งสิ้น