ทัศนคติชุมชนต่อการทำงานของผู้สูงอายุ กรณีศึกษาตำบลบ่อสุพรรณ อำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี
คำสำคัญ:
ทัศนคติ, ชุมชน, การทำงานของผู้สูงอายุบทคัดย่อ
คณะผู้วิจัยศึกษาหาแนวทางในการจ้างผู้สูงอายุนอกระบบให้สอดคล้องกับบริบทของชุมชนโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทัศนคติชุมชนต่อการทำงานของผู้สูงอายุเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้ให้ข้อมูลหลัก 26 คน โดยใช้การเลือกแบบเจาะจง และใช้วิธีการวิเคราะห์แบบอุปนัย
ผลการศึกษา พบว่า การทำงานของผู้สูงอายุในตำบลบ่อสุพรรณส่วนใหญ่เป็นงานที่ทำต่อจากอาชีพเดิม คือ การทำเกษตรกรรม หรือทำงานในวิสาหกิจชุมชุมต่าง ๆ ในตำบลบ่อสุพรรณ การรับจ้างทั่วไป และงานอื่น ๆ ที่ยังพอมีศักยภาพตามวัย นอกจากนั้น ยังพบว่า ผู้ให้ข้อมูลหลักมีทัศนคติต่อการทำงานของผู้สูงอายุทั้งในแง่บวกและแง่ลบ ซึ่งสามารถสรุปได้เป็น 4 ด้าน ได้แก่ ด้านสุขภาพใจ ด้านสุขภาพกาย ด้านเศรษฐกิจและด้านสังคมและวัฒนธรรม สรุปได้ว่า การศึกษานี้มีประโยชน์เพื่อนำผลการศึกษาไปสร้างเป็นแนวทางในการส่งเสริมการจ้างงานให้กับผู้สูงอายุในเกิดเป็นรูปธรรม ทำให้ผู้สูงอายุที่เป็นแรงงานนอกระบบมีสุขภาพกาย สุขภาพจิตใจ และสังคมและวัฒนธรรมที่ดี และความมั่นคงทางเศรษฐกิจในกับชุมชนและประเทศชาติต่อไป
References
กุศล ชูสั้น. (2561). แนวทางการพัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุสำหรับผู้นับถือศาสนาอิสลาม ขององค์การบริหารส่วนตำบลกมลา อำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต. (วิทยานิพนธ์ปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์), ภูเก็ต: มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต.
จรัญญา วงษ์พรหม และคณะ. (2558). กลไกการส่งเสริมการมีงานทำของผู้สูงอายุที่เป็นแรงงานนอกระบบ. (รายงานวิจัย), ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
_____. (2558). การมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ. วารสารวิชาการ Veridian E-Journal สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ, 8(3), 41-54.
ชณภัช ลิ่มสืบเชื้อ. (2553). การศึกษาและพัฒนาการเห็นคุณค่าในตนเองของผู้สูงอายุ. (วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาจิตวิทยาการแนะแนว), กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ณัฏฐ์ฐิตตา เทวาเลิศสกุล และคณะ. (2559). แนวทางการพัฒนาผู้สูงอายุจากภาระให้เป็นพลัง กรณีศึกษาเทศบาลนครรังสิต. (วิทยานิพนธ์ปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์), พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร.
นิภา รัพยูร. (2554). ทัศนคติของประชาชนต่อการปฏิบัติงานชุมชนและมวลชนสัมพันธ์ของตำรวจตระเวนชายแดน กรณีศึกษา กองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ 43. (สารนิพนธ์ปริญญารัฐประศาสนศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์คณะวิทยาการจัดการ), สงขลา: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
ประภาเพ็ญ สุวรรณ. (2526). ทัศนคติ: การวัด การเปลี่ยนแปลงและพฤติกรรมอนามัย. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: โอเดรียนสโตร์.
ประสิทธิ์ ทองอุ่น. (2542). พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาคน. กรุงเทพฯ: เธิร์ดเวฟ เอ็ดดูเคชั่น.
พรรัตน์ แสดงหาญ. (2561). การจ้างงานผู้สูงอายุในธุรกิจโรงแรมภาคตะวันออกของประเทศไทย. วารสารบริหารธุรกิจเทคโนโลยีมหานคร. ได้รับเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560. มหาวิทยาลัยบูรพา.
ภัทรดร จั้นวันดี. (2555). การศึกษาทัศนคติและความพึงพอใจของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนครเกี่ยวกับการนำระบบ E - learning มาใช้ในการจัดการเรียนการสอน. การประชุมวิชาการ มหาสารคามวิจัย ครั้งที่ 10 วารสารมนุษย์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 46-53.
มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย. (2560). สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2559. สืบค้น 15 เมษายน 2563. จาก https://shorturl.asia/SxtbL
ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ. (2552). การบริหารการตลาดยุคใหม่. กรุงเทพฯ: บริษัท ธรรมสาร จำกัด.
สมเกียรติ ศิริวัฒนพฤษกษ์. (2559). การจัดบริการอาชีวอนามัยสำหรับแรงงานสูงวัย. นนทบุรี. กรมควบคุมโรค. สืบค้น26 เมษายน 2561,จาก: http://www.envoc.ddc.moph.go.th/html/content/107357.
สร้อยตระกูล ติวยานนท์ อรรถมานะ. (2553). พฤติกรรมองค์การ : ทฤษฎีและการประยุกต์. (พิมพ์ครั้งที่ 4 ฉบับแก้ไขปรับปรุง). กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (2551). โครงการศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุ. กรุงเทพฯ: ศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สถาบันวิจัยประชากรและสังคม. (2553). โครงการศึกษาเพื่อหารูปแบบการส่งเสริมการมีงานทำแก่ผู้สูงอายุในพื้นที่ชนบท. นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหิดล.
Schwartz, N. E. (1975). Nutritional knowledge, attitude and practice of high school graduated. Journal of the American Dietetic Association, 66(1), 28-31.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายลิขสิทธิ์ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องลงลายมือชื่อในแบบฟอร์มใบมอบลิขสิทธิ์บทความให้แก่วารสารฯ พร้อมกับบทความต้นฉบับที่ได้แก้ไขครั้งสุดท้าย นอกจากนี้ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์นั้น ได้ส่งมาตีพิมพ์เฉพาะในวารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์ เพียงแห่งเดียวเท่านั้น หากมีการใช้ภาพหรือตารางหรือเนื้อหาอื่นๆ ของผู้นิพนธ์อื่นที่ปรากฏในสิ่งตีพิมพ์อื่นมาแล้ว ผู้นิพนธ์ต้องขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ์ก่อน พร้อมทั้งแสดงหนังสือที่ได้รับการยินยอมต่อบรรณาธิการ ก่อนที่บทความจะได้รับการตีพิมพ์ หากไม่เป็นไปตามข้อกำหนดเบื้องต้น ทางวารสารจะถอดบทความของท่านออกโดยไม่มีข้อยกเว้นใดๆ ทั้งสิ้น