การบริหารจัดการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารแบบธรรมาภิบาล ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
คำสำคัญ:
การบริหารจัดการ, จัดการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร, ธรรมาภิบาล, ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพทั่วไป ปัจจัยที่มีอิทธิพล และเพื่อศึกษาโมเดลการบริหารจัดการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารแบบธรรมาภิบาลของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยใช้วิธีวิจัยแบบผสานวิธี โดยใช้การวิจับเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ
ผลการวิจัยพบว่า การบริหารจัดการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารแบบธรรมาภิบาลของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในภาพรวม โดยรวมอยู่ในระดับมาก ปัจจัยการสื่อสาร การบริหาร มีพุทธสื่อสารเป็นตัวแปรส่งผ่านมีอิทธิพลต่อการบริหารจัดการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารแบบธรรมาภิบาลของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ผลการตรวจสอบความตรงของโมเดลที่พัฒนามีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานการวิจัยที่กำหนดไว้ โมเดลการบริหารจัดการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารแบบธรรมาภิบาลของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย มีปัจจัยที่สำคัญ คือการสื่อสารที่ผู้ส่งสาร มีความรู้คู่คุณธรรมในการเปิดเผยข้อมูล สารมีความถูกต้องแม่นยำ ช่องทางของการสื่อสาร มีความหลากหลายและมีความปลอดภัย ผู้รับสามารถเข้าถึงได้อย่างรวดเร็ว ผู้รับผู้รับสาร มีพื้นฐานความรู้และสามารถรับความเสี่ยงได้
References
ชนมณี ศิลานุกิจ. (2559). ประสิทธิผลการบริหารจัดการบุคลากรของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารดุษฎีบัณฑิตทางสังคมศาสตร์, 6(3), 35 – 53.
ณัฐวุฒิ รุ่งวงษ์. (2559). ความลับที่ 4 จิตวิทยามวลชนในตลาดหุ้น Mass Psychology in the Stock Market. กรุงเทพฯ: เอ็ดดูเคชั่นไมนด์ไลน์มัลติมีเดีย.
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2563). กราฟราคาดัชนีย้อนหลัง. สืบค้น 30 ตุลาคม 2563, จาก https://www.set.or.th/th/market/setindexchart.html.
___________. (2563) การเปิดเผยสารสนเทศ. สืบค้น 28 กุมภาพันธ์ 2563, จากhttps://www.set.or.th/th/regulations/supervision/listed_disclosure_ p5.html.
___________. (2563). การวางแผนลงทุนเพื่อเกษียณ. สืบค้น 1 กุมภาพันธ์ 2563, จากhttps://www.set.or.th/set/financialplanning/knowledgedetail. do?contentId=888533&type=article.
___________. (2563). เกษียณสุขเป็นจริงด้วยเงิน 3 ก้อน. สืบค้น 10 กุมภาพันธ์ 2563, จากhttps://www.set.or.th/set/education/knowledgedetail.do?contentId=56666341&type=infographic.
___________. (2563). ข้อมูลสถิติทางธุรกิจหลักทรัพย์. สืบค้น 21 กรกฎาคม2563, จากhttps://www.set.or.th/th/market/securities_company_statistics 63.html.
บลจ. เอ็มเอฟซี. (2563). ลงทุนแบบสม่ำเสมอ. สืบค้น 1 กุมภาพันธ์ 2563, จาก https://www.mfcfund.com/Web/BeforeInvesting(thth)/MutualFund(thth)/alwaysfund(thth).aspx.
ประชาชาติธุรกิจ. (2563). กอบศักดิ์ จี้ตลาดหุ้นปิดมุมมืด เคลียร์ปัญหาเจ้ามือปั่นหุ้นเอื้อประชาชนลงทุน. สืบค้น 7 กุมภาพันธ์ 2563, จาก https://www.prachachat. net/finance/news-402343.
ไพฑูรย์ อินต๊ะขัน และคณะ. (2563). ความสัมพันธ์ระหว่างโอกาสในการล้มละลายธุรกิจครอบครัวและการตกแต่งกำไรของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารวิชาการเครือข่ายบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ. 10(1), 49-62.
มูลนิธิชัยพัฒนา. (2563). เศรษฐกิจพอเพียง. สืบค้น 1 กุมภาพันธ์ 2563, จาก https://www. chaipat.or.th/site_content/item/3579-2010-10-08-05-24-39.html.
ศาตรา ไหลประเสริฐ. (2563). รูปแบบการลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร. 8(3), 1183-1193.
สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (2563). มาตรการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะ. สืบค้น 28 กุมภาพันธ์ 2563, จากhttps://www.sec.or.th/TH/Pages/AboutUs/SEC-internalinformation.aspx.
สุพจน์ บุญวิเศษ. (2561). ประสิทธิผลในการบริหารงานขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี. วารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. 10(2), 183-197.
Lindeman RH, Merenda PF, Gold RZ. (1980). Introduction to Bivariate and Multivariate Analysis. Scott Foresman: Glenview, IL.
Richard M. Walker. (2015). Local Government Management and Performance: A Review of Evidence. Journal of Public Administration Research and Theory. 25(1),101–133.
Weiss, R. The Provision of Social Relationship. In Z. Rubin (Ed). (1972). Doing Unto others. Englewood Cliff, N.J: Prentice-Hall.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายลิขสิทธิ์ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องลงลายมือชื่อในแบบฟอร์มใบมอบลิขสิทธิ์บทความให้แก่วารสารฯ พร้อมกับบทความต้นฉบับที่ได้แก้ไขครั้งสุดท้าย นอกจากนี้ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์นั้น ได้ส่งมาตีพิมพ์เฉพาะในวารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์ เพียงแห่งเดียวเท่านั้น หากมีการใช้ภาพหรือตารางหรือเนื้อหาอื่นๆ ของผู้นิพนธ์อื่นที่ปรากฏในสิ่งตีพิมพ์อื่นมาแล้ว ผู้นิพนธ์ต้องขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ์ก่อน พร้อมทั้งแสดงหนังสือที่ได้รับการยินยอมต่อบรรณาธิการ ก่อนที่บทความจะได้รับการตีพิมพ์ หากไม่เป็นไปตามข้อกำหนดเบื้องต้น ทางวารสารจะถอดบทความของท่านออกโดยไม่มีข้อยกเว้นใดๆ ทั้งสิ้น