การเมืองเรื่องพระพุทธรูป
คำสำคัญ:
การเมือง พระพุทธรูปบทคัดย่อ
พระพุทธรูปจานวนมากที่ปรากฏอยู่ในประเทศไทย หรือนานาประเทศที่นับถือพระพุทธศาสนาล้วนมีประวัติความเป็นมา พัฒนาการร่วมกับประชาชาตินั้น ๆ โดยมีนัยยะของประวัติศาสตร์ การเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม อาทิ พระพุทธรูปแห่งคันธาระ (อินเดีย) พระพุทธรูปแห่งบามิยัน (อัฟกานิสถาน) พระพุทธรูปที่หน้าผาหยุนกัง เมืองต้าถง ของมณฑลซานซี (จีน) พระพุทธรูปไดบุตสึ (ญี่ปุ่น) พระธาตุเขี้ยวแก้ว (ศรีลังกา) พระแก้ว พระสุก พระไส หรือพระบางในประวัติศาสตร์ลาว พระมหามัยมุนี (พม่า) พระองค์เจก-องค์จอม (กัมพูชา) พระบัวเข็มของกลุ่มชาติพันธุ์ไทยใหญ่อันมีศูนย์กลางที่เมืองตองยีในประเทศพม่า เป็นต้น ย้อนกลับมาในประเทศไทย ก็จะมีพระพุทธรูปสาคัญ ที่เนื่องด้วยประวัติศาสตร์และความเป็นมาของไทยเรา อาทิ พระพุทธชินราช (พิษณุโลก) พระพุทธสิหิงค์ (เชียงใหม่) พระแก้วมรกต (กรุงเทพ) พระพุทธโสธร (ฉะเชิงเทรา) พระทองคา (วัดไตรมิตร-กรุงเทพ) หลวงพ่อโต (วัดบางพลีใหญ่ใน-สมุทรปราการ) หลวงพ่อวัดไร่ขิง (นครปฐม) หรือพระสยามเทวาธิราช (วัดพระแก้ว-กรุงเทพ) เป็นต้น นัยยะของการเกิดขึ้นสัมพันธ์กับศาสนา ความเชื่อศรัทธา ความเป็นศูนย์รวมจิตใจในความเป็นรัฐชาติและการจัดตั้ง การเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ศิลปะ ตระกูลช่าง โดยสัมพันธ์เกาะเกี่ยวกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ของรัฐนั้นๆ รวมทั้งสยาม หรือไทยนับแต่อดีตจนกระทั่งปัจจุบัน ซึ่งประเด็นดังกล่าวปรากฏในงานค้นคว้า
References
Department of Fine Arts.
Prince Chaoprayatipakornvong. (2012). Royal Chronicle of Rattanakosin, reign 1-4,
Vol.2 Bangkok : Sripanya. [Thai Version]
Dan Beach Bradley. (1971). Dictionary of the Siamese Language.Translate by Master
Thad. Bangkok : Kurushapha Press. [Thai Version]
King Mongkut , (2013). “The legend of the Emerald Buddha for scribes. Quote from,
Sujitr Vongdhes. Editor, Emerald Buddha. Bangkok : Matichon. [Thai
Version]
Piseth Jeajunpong, Pramint Kruethong, Editor. (2004). Emerald Buddha, Bangkok :
Matichon Press. [Thai Version: พระแก้วมรกต]
Htin Aung. (2008). A History of Burma, Translated by Phetcharee Sumitr Bangkok :
The Foundation for the Promotion of Social Sciences and Humanities
Texbooks Project [Thai Version]
Wirawan Naruepiti. (2014). The Politics of Number : Collecting, List Making,
Measuring and Cataloging of Buddha Images from the North of Bangkok in
the Period of State
Building ,Journal of Damrong. 13 (2) : 123-146. Online : http://www.damrongjournal.
su.ac.th/?page=view_article&article_id=393
Wirawan Naruepiti. (2014). Thought of collecting Buddha images from period of
building Bangkok to King Rama 5th. Thesis of Master of Arts (History).
Faculty of Arts: Thammasart University. [Thai Version]
Prince Damrong Rajanubhab. (1953). Legend of the important Buddha.Bangkok :
Department of Fine Arts. [Thai Version]
Sor.Pai Noi. (2012). Bangkok Story : Complete version.Bangkok : Phim Khum Press.
[Thai Version]
SukChai Saisingha. (2007). Important Buddha statues and Buddhist art in Thai
territory: Bangkok : Muangboran Press. [Thai Version]
Arunrat Vichien Khao, (2548). Buddha Statue According to Moral Precept of
Lanna People. Bangkok : Chulalongkorn University Press. [Thai Version]
Father Sangermano, (1969). A Description of the Burmese Empire .New York:
[Thai Version]
Charney, Michael W. (2006). Powerful Learning: Buddhist Literati and the Throne in
Burma's
Last Dynasty, 1752-1885. Ann Arbor: University of Michigan. [Thai Version]
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2018 วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายลิขสิทธิ์ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องลงลายมือชื่อในแบบฟอร์มใบมอบลิขสิทธิ์บทความให้แก่วารสารฯ พร้อมกับบทความต้นฉบับที่ได้แก้ไขครั้งสุดท้าย นอกจากนี้ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์นั้น ได้ส่งมาตีพิมพ์เฉพาะในวารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์ เพียงแห่งเดียวเท่านั้น หากมีการใช้ภาพหรือตารางหรือเนื้อหาอื่นๆ ของผู้นิพนธ์อื่นที่ปรากฏในสิ่งตีพิมพ์อื่นมาแล้ว ผู้นิพนธ์ต้องขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ์ก่อน พร้อมทั้งแสดงหนังสือที่ได้รับการยินยอมต่อบรรณาธิการ ก่อนที่บทความจะได้รับการตีพิมพ์ หากไม่เป็นไปตามข้อกำหนดเบื้องต้น ทางวารสารจะถอดบทความของท่านออกโดยไม่มีข้อยกเว้นใดๆ ทั้งสิ้น