รููปแบบการบริหารจัดการหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตของมหาวิทยาลัยของรัฐในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง

ผู้แต่ง

  • นิเทศ สนั่นนารี สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
  • ประสารโชค ธุวะนุติ สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์

คำสำคัญ:

สััมฤทธิผล, การบริหารจัดการ, หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยของรฐในภาคตะวันออกเฉยงเหนอตอนกลาง

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้ มีจุดประสค์เพื่อศึกษา ๑) สัมฤทธิผลในการบริหารจัดการหลักสูตรรัฐประศาสนศสตรมหาบัณฑิตของมหาวิทยาลัยของรัฐในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง๒) ปัจจัยที่มีผลต่อกรบริหารจัดการหลักสูตรรัฐประศาสนศสตรมหาบัณฑิตของมหาวิทยาลัยของรัฐในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง และ ๓) นำเสนอรูปแบบสำหรับการบริหารจัดการหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตของมหาวิทยาลัยของรัฐในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง ใช้การวิจัยแบบผสานวิธี สำหรับการวิจัยเชิงคุณภาพเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสัมภาษณ์เชิงลึก การสนทนากลุ่ม กลุ่มเป้าหมายคือประธานหลักสูตร อจารย์ประจำหลักสูตร เจ้าหน้าที่ประจำหลักสูตร และผู้ใช้บัณฑิต จำนวนaรูป/ค วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา สำหรับการวิจัยเชิงปริมาณ เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่างได้แก่นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา จำนวน ๑๒๐รูป/ คนวิเคราะห์ข้อมูล ด้วยสถิติพรรณนา ได้แก่ ค่ความ ค่ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่เบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณผลการวิจัยพบว่า๑) สัมฤทธิผลในกรบริหารจัดการหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตของมหาวิทยาลัยของรัฐในภาคตวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง พบว่า ในภาพรวมของสัมฤทธิผลของการบริหารจัดการหลักสูต กลุ่มตัวอย่างมีระดับความคิดเห็นต่อสัมฤทธิผลของการบริหารจัดการหลักสูตรอยู่ในระดับมากโดยมีค่าเฉลี่ยรวมทุกด้าน (X =๔.๑๓, S.D. =.๔๙๒) ๒) ปัจจัยที่มีผลต่อการบริหรจัดการหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตของมหาวิทยาลัยของรัฐในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง พบว่า ปัจจัยที่มีอิทธิพลสูงต่อการบริหารจัดการหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตขอมหาวิทยาลัยของรัฐในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง คือปัจจัยการจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ซึ่งมีอิทธิพลต่อการทำนายผลได้มากถึงร้อยละ๘๑.๖o๓) รูปแบบสำหรับการบริหารจัดการหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตของมหาวิทยาลัยของรัฐในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง พบว่า ผู้บริหารหลักสูตรรัฐประศสนศาสตรมหาบัณฑิตขอมหาวิทยาลัย ต้องให้ความสำคัญกับตัวแปรการจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ซึ่งจะทำให้การบริหารจัดการหลักสูตรประสบความสำเร็จ

References

(๑) หนังสือ :
เกษม วัฒนชัย. นโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ.
กรุงเทพมหานคร: ม.ป.พ, ๒๕๔๔
จรัส สุวรรณเวลาและคณะ. บนเส้นทางสู่มหาวิทยาลัยวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ ๒, กรุงเทพมหานคร :
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๓๔.
ไพฑูรย์ สินลารัตน์ อุดมศึกษาไทยในอุดมศึกษาโลก, กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๖.
วิชัย ตันศิริ. วัฒนธรรการเมืองและการปฏิรูป. กรุงเทพมหานคร : พิมพ์ลักษณ์, ๒๕๔๗.
วิรัช วิรัชนิภาวรรณ. การบริหารจัดการของหน่วยงานของรัฐ : การวิเคราะห์เปรียบเทียบ
ตัวชี้วัดรัฏฐาภิรักษ์. กรุงเทพมหานคร : ๒๕๕ด,
สำนักมาตรฐานและประเมิผลอุดมศึกษา. เกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา ๒๕๔๘
และแนวทางการบริหารเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๘.
กรุงเทพมหานคร : ม.ป.พ., ๒๕๔๘.
อดุลย์ วิริยวชกุล. คู่มือการจัดการเรียนระดับบัณฑิตศึกษา. กรุงเทพมหานคร: บัณฑิต
วิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, ๒๕๔๑.
(๒) วิทยานิพนธ์/สารนิพนธ์ :
คำเพชร ภูริปริญญา. "การนำเสนอยุทธศาสตร์พัฒนาสถาบันอุดมศึกษาไทยสู่การเป็น
มหาวิทยาลัยระดับโลก". ปริญญานิพนธ์ สาขาวิชาอุดมศึกษา.จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย,๒๕๕0.
ไชย ภาวะบุตร. "ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อพัฒนาการจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
มหาวิทยลัยราชภัฏสกลนคร". รายงานการวิจัย, ๒๕๔๙.
ประกอบ คุปรัตน. "บทบาทอุดมศึกษาเอกชน". รายงานผลการวิจัย.มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
, ๒๕๓๒.
เพ็ญศรี ฉิรินัง. "การพัฒนาอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาไทย: ศึกษาเปรียบเทียบมหาวิทยาลัย
ของรัฐ และมหาวิทยาลัยเอกชน". วิทยานิพนธ์ปรัชญาดษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐ
ประศาสนศาสตร์. มหาวิทยาลัยรามคำแหง, ๒๕๕๐.
พรรณี ศรีกลชาญ. "ความพึงพอไของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาต่อการให้บริการของ
สำนักงานวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น".
วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา.
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ๒๕๕๒.
พงศ์กรขัย มีสามเสน. "ผลกระทบนโยบายการปฏิรูปการศึกษาของไทยในอนาคตศึกษากรณี
แนวคิดของผู้เชี่ยวชาญด้านการศึกษา". รายงานการวิจัย. ๒e๔๘.
ยุทธพงษ์ ลีลากิจ. "พัฒนาการและลักษณะของหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร์ระดับปริญญาตรี
ในประเทศไทย", ในวารสารรามคำแหง ปีที่ ๒๖ ฉบับพิเศษ, ๒๕๕๒.
วิจิตร ศรีสอ้านปรัชญาและเป้าหมายของการบัณฑิตศึกษาในเสริมสมรรถภาพ
บัณฑิตศึกษา.กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,๒๕๒๓.
วีระวัฒน์ ปันนิตมัย. "การศึกษาเปรียบเทียบสมรรถนะของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง
แรงจูงใจที่จะนำและการต่อต้านการเปลี่ยนแปลงของนักศึกษาหลักสูตรภาคพิเศษ".
รายงานการวิจัย. คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนาบริหารศาสตร์,
๒๕๔๙.
วีระยุทธ พรพจน์ธนมาศ. "ความคาดหวังต่อการจัดการศึกษาทางรัฐประศาสนศาสตร์ : ศึกษา
กรณีมหาวิทยาลัย ๖ แห่งในกรุงเทพ". รายงานการวิจัย, ๒๕๕O.
สุกัญญา สุวรรณนาคินทร. "สภาพแวดล้อมทางวิชาการของการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาของ
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือในทัศนะของผู้บริหาร อาจารย์ และ
นักศึกษา". รายงานการวิจัย. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ,
๒๕๕๔.
อรอุมา ศึกษา. "แนวทางในการนำ Balanced Scorecard มาใช้ในการบริหารงานวิชาการ
ของวิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น". วิทยานิพนธ์ปริญญา
ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ๒๕๕๐.
๒. ภาษาอังกฤษ
(I) Books:
Appleby, P.H. Policy and Administration. Tuscaloosa, AL : University of
Alablama Press, 1949.
Golembiewski, R.T. A Note on Leiter's Study : Highlighting two Models of
Burnout. Group & Organization Management, 1989.
Goodnow, F.J. Politics and Administration. New York : Macmillan, 1960.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2016-04-20

How to Cite

สนั่นนารี น., & ธุวะนุติ ป. (2016). รููปแบบการบริหารจัดการหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตของมหาวิทยาลัยของรัฐในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง . วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 5(1), 189–204. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jssr/article/view/245354