การพัฒนาหลักสูตรบูรณาการระดับรายวิชาของโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามญศึกษา ในกลุ่มที่ ๙

ผู้แต่ง

  • พรพนา แสนการุณ วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาด้านการจัดการ มหาวิทยาลัยศรีปทุม

คำสำคัญ:

พัฒนาหลักสูตร, การบูรณาการหลักสูตร

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้ มีจุดมหมาย ๑) เพื่อศึกษาการพัฒนาหลักสูตรบูรณาการระดับรายวิชาของโรเรียนพระปริยัติธรร แผกสมัญศึกษา ในกลุ่มที่ ๙ ๒) เพื่อศึกษาผลการทดลองใช้หลักสูตร บูรณาการะดับรายวิชของโรงเรียนพระปริยติธรม แผกสามัญศึกษา ในกลุ่มที่ ๙ โดยจัดดำเนินการวิจัยออกเป็น ๔ ขั้นตอน กล่วคือ ๑) ยกร่งการพัฒนาหลักสูตรบูรณาการระดับรายวิชา ๒) การประเมินความหมาะสมและความเป็นไปได้ ๓) ทดลองใช้หลักสูตรบูรณาการะดับรายวิชา ๔) สรุปผลการพัฒนาหลักสูตรบูรณากรระดับราวิชา ประชากร ได้แก่ ผู้บริหาร จำนวน ๑๐๐ รูป/คน ครูผู้สอนวิชาภาษไทย จำนวน 6๕ รูป/คน วิชาภาษาบาลี จำนวน ๒๕ รูป/คน ครูผู้สอนวิชาพระพุทรศสนา จำนวน ๒๕ รูป/ค ในปีการศึกษา ๒๕๕๗ จำนวนรวม ด๗๕ รูป/คน กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้บริหาร จำนวน ๘๐ รูปค ครูผู้สอนในสักัดโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษากลุ่ม ๙ ซึ่งเป็นครูผู้สอนวิชาภาษไทย จำนวน ๒๐ รูป/คน ครูผู้สอนวิชาภาษาบาลี จำนวน ๒๐รูป/คน ครูผู้สอนวิชพระพุทธศาสนา จำนวน ๒๐ รูป/คน รวมจำนวน ๑๔๐ รูป/คน ใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่งแบบแบกลุ่ และใช้วิธีการสุ่มอย่างง่ย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ได้แก่ ความถี่ร้อยละ ค่เฉลี่ย ส่วนเบียงเบนมาตรฐานผลการวิจัย พบว่ ๑. กรพัฒนหลักสูตรบูรณากรระดับรายวิชาของโรงเรียนพระปริย์ติธรม แผนกสมัญศึกษา ในกลุ่มที่ ตมขอบขำยการบูรณาการเนื้อหา ประกอบด้วย ๗องค์ประกอบ ดัง ๑) การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ๒) การวัดผล ประเมินผลและการเทียบโอนผลการเรียน ๓) การวินิจฉัยความต้องการ ๔) การกำหนดวัตถุประสงค์ ๕) การเลือกเนื้อหา๖) การเลือกประสบการณ์การเรียนรู้ และ ๗) การจัดองค์ประกอบของประสบการณ์การเรียนรู้ผู้ทรงคุณวุฒิมีความห็นว่ หลักตรบูรณาการที่คันพบในการวิจัยมีความถูกต้องเป็นไปได้และใช้ประโยชน์ได้ดี ๒. ผลการทดลองใช้หลักตรบูรณาการพบว่า นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาภาษไทย วิชาภาษาบาลี และวิชพระพุทธศาสนาสูงขึ้น และมีข้อเสนอแนะดังนี้สถานศึกษาประชาสัมพันธ์หลักสูตรบูรณาการระดับรายวิชเนื้อหาวิชาภาษาไทย ภาษาบาลี และพระพุทรศสนา ๒) สถานศึกษานำผลการประเมิคารเรียนรู้มาใช้ปรับปรุงผู้เรียนอย่างสม่ำเสมอสถานศึกษาควรกำหนดวัตถุประสงค์ใการพัฒนหลักสูตบูรณการระดับรายวิชาซึ่งจะทำให้บรรลุตามจุดงหมายของหลักสูตรสถานศึกษาได้

References

(๑) หนังสือ:
คมการศาสนา. การประเมินผลโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา. กรุงเทพมหานคร :กรมการศาสนา, ๒๕๓๕.
กระทรวงศึกษาธิการ. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช ๒๕๔๒ แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ ๒) พุทธศักราช ๒๕๔๕. กรุงเทพมหานคร : คุรุสภา, b๕ab.
กระทรวงศึกษาธิการ. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาชั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑.
กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่ประเทศไทย, ๒๕๕๑.
จำแลง เชื้อภักดี และคณะ การวิจัยเกี่ยวกับการนิเทศการเรียนการสอน. เอกสารประกอบการ
สอนวิชากระบวนการจัดการเรียนการสอน, ๒๕๔๓.
มาณพ พลไพริทร์. หลักการจัดการศึกษาพระปริยติธรรม. กรุงเทพมหานคร : กรมการศาสนา,
โศภนา บุณยะกลัมพ. แนวทางการจัดแผนการเรียนรู้แบบบูรณาการที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ.
กรุงเทพมหานคร : โมเดอร์น อคาเดมิก เซ็นเตอร์, ๒๕๔
สงัด อุทรานัท. พื้นฐานและหลักการพัฒนาหลักสูตร. พิมพ์ครั้งที่ ๓ กรุงเพพมหานคร : โรงพิมพ์
มิตรสหาย, ๒๕๓๕.
สุวิมล ว่องวาณิช. การวิจัยประเมินความต้องการจาเป็น. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์ แห่ง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๘.
สำนักงานพระพุทรศสนาแห่ชาติ. ดู่มือชาวพุทธฉบับพูดจาภาษาวัด. กรุงเทพมหานคร : โรง
พิมพ์สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ, ๒๕๕๗.
(๒) งานวิจัย/วิทยานิพนธ์
พระครูสิริวิชัยรัช กังชุย. การปฏิบัติตามมาตรฐานด้นการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนพระ
ปริยัติธรมแผนกสามัญศึกษา จังหวัดเลย. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต.
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, ๒๕๔๔.
พระมงคล มหานาโม คบขุนทด การศึกษาปัญหาและแนวทางแก้ไขปัญหาการบริหารหลักสูตรของ
โรงเรียนพระปริยติธรมแผกสมัญศึกษา จังหวัดนครราชสีมาตามทัศนะของผู้บริหาร
โรงเรียนและครูอาจารย์. วิทยานิพนธ์ ค.ม. (การบริหารการศึกษา). นครราชสีมา.
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา, ๒๕๔๗.
พระมหาศิริสิท วรน การจัการพัฒนาหลักสูตรสถานศึษาของโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนก
สามัญศึกษา กลุ่ม ๕ เขตพื้นที่การศึกษาเชียงใหม่ เขต ๔ การคันคว้าแบบอิสระ ศึกษา
ศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเซียงใหม่, ๒๕๕๐.
พูนสุข อุดม. การพัฒนาหลักสูตรวิทยศาสตร์แบบพหุวิทยการร่วมกับวิชาคณิตศาสตร์และ
ภาษาอังกฤษสำหรับชั้นมัธมศึกษ ๑ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัยตรัง. ปริญญา
นิพนธ์ดุษฎีบัณฑิ สขาวิชาวิทยาศาสตร์ศึกษา. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ,
วิเชีย อิกรสมบัติ. การพัฒนาหลักสูตรฝีกอบรมเพื่อเสริมสร้างสมรรถภาพ การบูรณาการ
จริยธรมในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานสหรับครูมัธยมศึกษา. วิทยานิพนธ์ปริญญา
การศึกษาดุษฎีบัณฑิต สขาการวิจัยและพัฒนาหลักสูตร. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิ
โรฒ, ๒๕๔๖.
ศิริกาญจน์ โกสมภ์. "กรมีส่วนร่วมของชุมชนและโรงเรียนเพื่อการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน".
วิทยานิพนธ์ปริญญาเอก สขาพัฒนศึกษา คณะศึกษาศาสตร์. มหาวิทยาลัยศรีนครินท
รวิโรฒ, ๒๕๔๒.
สุภาพร มากแจ้ง และสปอง มากแจ้ง. รายงานการวิจัยการศึกษาสภาพการจัดการศึกษาของ
คณะสงฆ์. งานวิจ้ได้รับทุนอุดหนุนประจำปี กรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ,
bacb.
อำนาจ บัวศิริ. การพัฒนารูปแบมหาวิทยลัยสฆนนาชาติในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์
ปริญญาดุษฎีบัณฑิต. ภาควิชบริหารการศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๔.
๒. ภาษาอังกฤษ
(I) Books:
Cotton, K Principals and Student Achievement: What the Research Says.
Association for Supervision and Curriculum Development. Virginia
Alexandria. 2003.
Fogarty, Robin. The Mindful School : How to Integrate Curriculum. lllnois :
IR/skylight Training and Publishing, 1991.
Grasha, A,, & Reichmann, S. Workshop Handout on Learning Styles. Ohio: Faculty
Research Center, University of Cincinnati, 1975.
Skil beck. School Based Curriculum Development, London: Harper&Row, 1984.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2016-04-20

How to Cite

แสนการุณ พ. . (2016). การพัฒนาหลักสูตรบูรณาการระดับรายวิชาของโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามญศึกษา ในกลุ่มที่ ๙ . วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 5(1), 163–178. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jssr/article/view/245352