การศึกษาเปรียบเทียบความสัมพันธ์ในครอบครัวและการอนุรักษ์วิถีชีวิตพนถิ่น ระหว่างชุมชนชาวปกาเกอะญอกับชมชนชาวเมืองในเขตสาทรกรุงเทพมหานคร

ผู้แต่ง

  • ดวงเดือน ศาสตรภัทร คณะจิตวิทยา วิทยาลัยเซนต์หลุยส์
  • ชูเกียรติ จากใจชน คณะจิตวิทยา วิทยาลัยเซนต์หลุยส์
  • พลภัทร เจริญเวยงเวชกจ คณะจิตวิทยา วิทยาลัยเซนต์หลุยส์
  • วิภา เลค คณะจิตวิทยา วิทยาลัยเซนต์หลุยส์
  • จิราภรณ์ โภชกปริภัณท์ คณะจิตวิทยา วิทยาลัยเซนต์หลุยส์

คำสำคัญ:

การอนุรักษวิถีชีวิตพื้นถิ่น, ชุมชนชาวปกาเกอะญอ

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้ วัตถุประสด์ของการวิจัย ๑) เพื่อสำรวจความสัมพันธ์ในครอบครัวและการอนุรักษ์วิถีชีวิตพื้นถิ่นของชุมชนชาวปกาเกอะญอกับของชุมชนชาวเมืองในเขตสาทร ๒) เพื่อเปรียบเทียบความสัมพันธ์ในครอบครัวระหว่างชุมชนชาวปกาเกอะญอกับชุมชนชาวเมืองในเขตสาทร ๓) เพื่อเปรียบเทียบกรอนุรักษ์วิถีชีวิตพื้นถิ่นระหว่างชุมชนชาวปกาเกอะญอกับชุมชนชาวเมืองในเตสาทร ๔) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ในครอบครัวกับการอนุรักษ์วิถีชีวิตพื้นถิ่นสมมติฐานะ ๑) ความสัมพันในครอบครัวระหว่างชุมชนชาวปกาเกอะญอกับชุมชนชาวเมืองในเขตสาทรแตกต่างกัน ๒) การอนุรักษ์วิถีชีวิตพื้นถิ่นของชุมชนชาวปกาเกอะญอกับชุมชนชาวเมืองในเขตสาทรแตกต่างกัน ๓)ความสัมพันในครอบครัวมีความสัมพันธ์กับการอนุรักษ์วิถีชีวิตพื้นถิ่น การวิจัยนี้เป็นการวิจัยชิงสำรวจ กลุ่มตัวอย่าง ได้มาแบบเจาะจง เป็น ชาวปกาเกอะญอ ๑๗๕ คน จากจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน กับชาวเมือง ๑๖๗ คน ในเขตสาทรที่พักอาศัยนานเกิน ๑๐ ปีเครื่องมือเป็นแบบสอบถามมาตรลิเคิต ๕ ระดับ ที่มีความตรงเชิงเนื้อหา และความเที่ยงโดยการหาสัมประสิทธิ์แอลฟาดวามสัมพันธ์ในครอบครัว ด๕ ข้อได้ .๗ต และการอนุรักษ์วิถีชีวิตพื้นถิ่น ๑๖ข้อได้ .๗๖ สถิติใช้ ttest และ สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัย: ๑) ความสัมพันธ์ในครอบครัวและการอนุรักษ์วิถีชีวิตพื้นถิ่นทั้ง ๒ ชุมชนอยู่ในระดับสูง ๒) ความสัมพันธ์ในครอบครัวของชุมชนชาวปกาเกอะญอ คับ ของชุมชนชาวเมืองในเขตสาทรไม่แตกต่างกัน ๓) การอนุรักษ์วิถีชีวิตพื้นถิ่นของชุมชนชาวปกาเกอะญอกับของชุมชนชาวเมืองในเขตสาทรแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ ด ๔) ความสัมพันธ์ในครอบครัวกับการอนุรักษ์วิถีชีวิตพื้นถิ่นของทั้ง ๒ ชุมชนสัมพันธ์กันที่ระดับ .๐๑ (r=.๒๙๘)

References

(๑) วิทยานิพนธ์/รายงานการวิจัย
มนธ์ภัสสรณ พิพัฒน์เตชากร."ศึกษาปัจจัยที่เสริมสร้างการมีครอบครัวอยู่ดีมีสุขในจังหวัดนครปฐม". วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๕๒.
คณะครุศาสตร. "ศึกษาสำรวจชุมชนกะเหรี่ยงบ้านห้วยน้ำหนักตำบลตะนาวศรี อำเภอสวนผึ้งจังหวัดราชบุรี". คณะครุศาสตร์: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จ,๒๕๕๑.
(๒) วารสาร
สิทธิโชค วิบูลย์ และคณะ. ศึกษาการอนุรักษ์ทางวัฒนธรรมชาวมอญเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวชุมชนกรณีศึกษา: ชุมชนศาลาแดงเหนือ จังหวัดปทุมธานี. วารสารบัณฑิตศึกษา,มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๑ มกราคม-
เมษายน ๒๕๕๔.
(๓) เว็บไซต์
บุษบา สุธีธร ปียฉัต ล้อมฉวกร และอภิชญา อยู่ในธรรม. ทิศทางทำงานร่วมกันขององค์กรภาคสี่อ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และองค์กรภาคประชาสังคมในการส่งเสริมวิถีชีวิตและภูมิปัญญาท้องถิ่นแก่เยาวชน. [ออนไลน์]. แหล่งที่มาะwww.stou.ac.th/thai/schools/sca. (๑๘ มิถุนายน ๒๕๕๘)
จิราพร ชมพิกุลและคณะ. สัมพันธภาพในครอบครัวไทย. นครปฐม: สถาบันพัฒนาการสาธารณสุขอาเซียน มหาวิทยาลัยมหิดล, ๒๕๕๒.ยุกติ มุกดาวิจิตร.วัฒนธรรมทาสฝรั่ง.[ออนไลน์]. แหล่งที่มา:
http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1404064 067.( ๑สิงหาคม ๒๕๕๗)

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2016-04-20

How to Cite

ศาสตรภัทร ด., จากใจชน ช., เจริญเวยงเวชกจ พ., เลค ว., & โภชกปริภัณท์ จ. (2016). การศึกษาเปรียบเทียบความสัมพันธ์ในครอบครัวและการอนุรักษ์วิถีชีวิตพนถิ่น ระหว่างชุมชนชาวปกาเกอะญอกับชมชนชาวเมืองในเขตสาทรกรุงเทพมหานคร . วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 5(1), 101–108. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jssr/article/view/245339