ศิลปะการพูดสำหรับผู้นำ : พูดอย่างไรให้คนเชื่อ
คำสำคัญ:
ศิลปะการพูด, ผู้นำ, พูดอย่างไรให้คนเชื่อบทคัดย่อ
หนังสือ “ศิลปะการพูดสำหรับผู้นำ”เล่มนี้เป็นหนังสือที่ท่านอาจารย์สมชาติ กิจยรรยง รวบรวมหลักสำคัญและวิธีการพูดในที่ชุมชนการฝึกเพื่อพัฒนางานและสร้างความสำเร็จในการบริหารโดยใช้วิธีการเขียนที่เข้าใจง่ายด้วยการอ้างอิงประสบการณ์ของผู้เขียนและยกตัวอย่างประกอบใดสนใจอย่างยิ่งสำหรับผู้นำทุกระดับในองค์การตั้งแต่ระดับหัวหน้างานผู้บัญชาการพูดระดับผู้บริหารระดับกลางและผู้บริหารระดับสูงเพราะผู้นำจะต้องมีบุคลิกภาพและนาทีแสดงออกได้อย่างน่า “เชื่อถือ” มีความสามารถในการบริหารการปฏิบัติเป็นที่ “เชื่อมือ” มีปฏิสัมพันธ์และทำงานร่วมกับผู้อื่นเป็นที่ “เชื่อใจ” และมีอิทธิพลทางใจเหลือผู้อื่นทำให้เกิดความ “เชื่อมั่น” เจอผู้ร่วมงานให้ผู้เกี่ยวข้องได้และบทบาทสำคัญของผู้นำประกอบประกอบประการหนึ่งคือความสามารถในการคิดโดยประดิษฐ์ออกมาเป็นถ้อยคำเพื่อสร้างความสนใจความเข้าใจและความพอใจและแรงจูงใจให้ผู้อื่นก็ทำได้ ซึ่งท่านจะสามารถศึกษาและนำไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับความสามารถและสถานการณ์ได้เพราะ “ถ้าพูดไม่เป็นอย่าริเป็นผู้นำ” หนังสือเล่มนี้จึงเป็นทางเลือกสำหรับผู้ที่จะบริหารงานหรือเป็นผู้จัดการหรือทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพนั่นเอง ผู้อ่านต้องลองพิสูจน์ด้วยตนเองว่าหนังสือเล่มนี้จะตอบโจทย์ได้อย่างที่ผู้วิจารณ์พูดไว้หรือไม่ เพราะคนเราส่วนใหญ่มีทัศนะที่แตกต่างกันออกไป แล้วแต่การปลูกฝัง ประสบการณ์ หรือ บริบทของสังคม การอ่านหนังสือก็เช่นเดียวกัน อ่านเรื่องเดียวกัน บางคนอาจจะบอกว่าดี บางคนอาจจะบอกว่าไม่ดีก็ได้ ใครจะไปทราบได้ สิ่งสำคัญคือ ผู้วิจารณ์ ได้นำหนังสือ ของท่านอาจารย์สมชาติ กิจยรรยง มานำเสนอ และวิเคราะห์ วิจารณ์ในบางส่วนบางตอนเพราะเห็นว่าหนังสือเล่มนี้มีประโยชน์อย่างดี ผู้อ่านจะสนับสนุนหรือเห็นแย้งจากผู้วิจารณ์ก็ได้ เพราะเป็นสิทธิส่วนบุคคลแต่ละท่าน อย่างโบราณท่านว่า “สองคนยลตามช่อง คนหนึ่งมองเห็นโคลนตม อีกคนตาแหลมคม มองเห็นดาวอยู่พราวแพรว”
References
กรกต ชาบัณฑิต และคณะ. (2559). ยุทธศาสตร์การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเชิงรุก. วารสารบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์, 7(2), 55-67.
กมล การกุศล. (2529). การพูดเพื่อประสิทธิผล. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร.
คณะอนุกรรมการฝ่ายหนังสืออนุสรณ์ 100 ปี ชาตกาล พุทธทาสภิกขุ. (2549). พุทธทาสยังอยู่ ไปไม่มีตาย. กรุงเทพฯ: คณะกรรมการอํานวยการจัดงาน 100 ปี พุทธทาสภิกขุ.
จินดา งามสุทธิ. (2531). การพูด. กรุงเทพ: โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮาส์.
ญาดา อารัมภีร. (2551). ทักษะการพูดสำหรับผู้นำ. สืบค้น 1 ตุลาคม 2551, จาก http://oknation.nationtv.tv/blog/print.php?i
ทรงวิทย์ แก้วศรี. (2551). การศึกษาวิเคราะห์ยุทธวิธีในการประกาศศาสนาของพระพุทธเจ้า. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
ธัญญาภรณ์ ภู่ทอง. (2541). ชีวประวัติบุคคลตัวอย่างพระธรรมโกศาสจารย์ พุทธทาส อินทปัญโญ. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.
เนตร์พัณณา ยาวิราช. (2546). ภาวะผู้นำและผู้นำเชิงกลยุทธ์. กรุงเทพฯ: บริษัท เซ็นทรัล เอ็กเพรส จํากัด.
บรรยงค์ โตจินดา. (2543). การบริหารงานบุคคล (การจัดการทรัพยากรมนุษย์). กรุงเทพฯ:รวมสาส์น.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มาลี ไพรสน และพระครูพิพิธสุตาทร. (2563). การเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระพุทธเจ้าในบริบทพหุวัฒนธรรมอินเดีย. วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ, 5(5), 82-95.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2563). พจนานุกรมแปล ไทย-ไทย ราชบัณฑิตยสถาน. สืบค้น 20 พฤษภาคม 2563, จาก https://dictionary.sanook.com
สมชาติ กิจยรรยง. (2555). ศิลปะการพูดสำหรับผู้นำ (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: เอ็กซเปอร์เน็ท.
สวัสดิ์ อโณทัยและคณะ. (2019). ศึกษาวิเคราะห์พุทธวิธีการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในคัมภีร์อรรถกถาธรรมบท. วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ, 4(1), 70-84.
Kelly, J. (2005). Milindapañha: The Questions of King Milinda. Retrieved May, 30 2020, from https://www.accesstoinsight.org/tipitaka/kn/miln/miln.intro.kell.html
Rhys, D., & Thomas. (1894). The questions of King Milinda, Part 2. Oxford: The Clarendon press.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2020 วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายลิขสิทธิ์ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องลงลายมือชื่อในแบบฟอร์มใบมอบลิขสิทธิ์บทความให้แก่วารสารฯ พร้อมกับบทความต้นฉบับที่ได้แก้ไขครั้งสุดท้าย นอกจากนี้ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์นั้น ได้ส่งมาตีพิมพ์เฉพาะในวารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์ เพียงแห่งเดียวเท่านั้น หากมีการใช้ภาพหรือตารางหรือเนื้อหาอื่นๆ ของผู้นิพนธ์อื่นที่ปรากฏในสิ่งตีพิมพ์อื่นมาแล้ว ผู้นิพนธ์ต้องขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ์ก่อน พร้อมทั้งแสดงหนังสือที่ได้รับการยินยอมต่อบรรณาธิการ ก่อนที่บทความจะได้รับการตีพิมพ์ หากไม่เป็นไปตามข้อกำหนดเบื้องต้น ทางวารสารจะถอดบทความของท่านออกโดยไม่มีข้อยกเว้นใดๆ ทั้งสิ้น