อิทธิพลของธรรมาภิบาลที่ส่งผลต่อประสิทธิผลองค์การ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครสวรรค์
คำสำคัญ:
ธรรมาภิบาล, ประสิทธิผลองค์การ, องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นบทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์และตรวจสอบองค์ประกอบเชิงยืนยันของธรรมาภิบาล 2) วิเคราะห์และตรวจสอบองค์ประกอบเชิงยืนยันของประสิทธิผลองค์การ 3) ศึกษาอิทธิพลของธรรมาภิบาลที่ส่งผลต่อประสิทธิผลองค์การขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครสวรรค์ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้บริหาร ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ พนักงานจ้าง สมาชิกสภา ที่ทำงานในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครสวรรค์ จำนวน 280 คน และใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การตรวจสอบองค์ประกอบเชิงยืนยัน และการวิเคราะห์ความถดถอยอย่างง่าย ผลการวิจัยพบว่า องค์ประกอบของธรรมาภิบาลมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.01 องค์ประกอบประสิทธิผลองค์การมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.01 และอิทธิพลของธรรมาภิบาลส่งผลต่อประสิทธิผลองค์การทางบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
References
โกวิทย์ พวงงาม. (2552). การปกครองท้องถิ่นไทย หลักการและมิติใหม่ในอนาคต (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: วิญญูชน.
จักรกฤษณ์ นรนิติผดุงการและคณะ. (2559). การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลนายายอาม อำเภอนายายอาม จังหวัดจันทบุรี. วารสารด้านการบริหารรัฐกิจและการเมือง, 5(1), 127–156.
ไชยนันท์ ปัญญาศิริ. (2560). กระบวนทัศน์การบริหารจัดการองค์การภาครัฐไทย: เปรียบเทียบการจัดการภาครัฐแนวใหม่ (NPM) กับการบริการสาธารณะแนวใหม่ (NPS). สยามวิชาการ, 18(1), 1-20.
ตัวชี้วัดเมืองน่าอยู่. (2548). กรอบแนวคิดและแนวทางการพัฒนาตัวชี้วัดเพื่อประเมินผลเทศบาลน่าอยู่อย่างยั่งยืน. กรุงเทพฯ: ผู้จัดการ.
พสุ เดชะรินทร์. (2546). กลยุทธ์ใหม่ในการจัดการ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ผู้จัดการ.
รินทร์ชิสา เกล็ดประทุมกานต์. (2563). อิทธิพลของธรรมาภิบาลที่ส่งผลต่อประสิทธิผลองค์การขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครสวรรค์ (ดุษฎีนิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.
วรัท พฤกษากุลนันท์. (2550). สื่อหลายมิติแบบปรับตัว Adaptive Hypermedia. รังสิตสารสนเทศ, 13(1), 17-24.
สมชาย น้อยฉ่ำ และคณะ. (2560). ธรรมาภิบาลกับประสิทธิผลในการบริหารงานตามหลักการประเมินแห่งดุลยภาพของเทศบาลนครเจ้าพระยาสุรศักดิ์ อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี. วารสารเกษมบัณฑิต, 17(2), 38-48.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ. (2555). หลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ.
Agere, S. (2002). Good Governance. London: Bridge Communication Agency.
Bertrom, M. G. (1973). Concepts and Controversy in Organizational Behavior. Pacific Palisades, CA: Good Year.
Hair, J. F. et al. (2010). Multivariate data analysis (6th ed.). Upper Saddle River. NJ: Pearson Education International.
Hooper, D. et al. (2008). Structural Equation Modeling: Guidelines for Determining Model Fit. Electronic Journal of Business Research Methods, 6(1), 53-60.
Kaplan, R. S., & Norton, D. P. (1996). Balanced Score cord Harvard Business Press. Massachusetts: Harvard Business School Press.
Niven, P. R. (2003). Balanced scorecard step by step for government and nonprofit agencies. Hoboken New Jersey: John Wiley & Sons, Inc.
Santiso, C. (2001). Good governance and aid effectiveness: The World Bank and conditionality. The Georgetown Public Policy Review, 7(1), 5-20.
Steers, R. M. (1977). Organizational Behavior. Upper Saddle River, N.J: Prentice Hall.
Williams, C. (2005). Management (3rd ed.). Ohio: South-Western Thomson.
World, B. (1992). Governance and development. Washington, DC.: The World Bank.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2020 วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายลิขสิทธิ์ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องลงลายมือชื่อในแบบฟอร์มใบมอบลิขสิทธิ์บทความให้แก่วารสารฯ พร้อมกับบทความต้นฉบับที่ได้แก้ไขครั้งสุดท้าย นอกจากนี้ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์นั้น ได้ส่งมาตีพิมพ์เฉพาะในวารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์ เพียงแห่งเดียวเท่านั้น หากมีการใช้ภาพหรือตารางหรือเนื้อหาอื่นๆ ของผู้นิพนธ์อื่นที่ปรากฏในสิ่งตีพิมพ์อื่นมาแล้ว ผู้นิพนธ์ต้องขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ์ก่อน พร้อมทั้งแสดงหนังสือที่ได้รับการยินยอมต่อบรรณาธิการ ก่อนที่บทความจะได้รับการตีพิมพ์ หากไม่เป็นไปตามข้อกำหนดเบื้องต้น ทางวารสารจะถอดบทความของท่านออกโดยไม่มีข้อยกเว้นใดๆ ทั้งสิ้น