การปกครองระบอบประชาธิปไตยตามการรับรู้ของประชาชน ในอำเภอนิคมพัฒนา จังหวัดระยอง

ผู้แต่ง

  • ปูน วิเศษศรี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • ประณต นันทิยะกุล มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • สุรพล สุยะพรหม มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • สวัสดิ์ จิรัฏฐิติกาล มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

คำสำคัญ:

การปกครอง, ระบอบประชาธิปไตย, การรับรู้ของประชาชน

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็น เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชน เพื่อศึกษาปัญหา อุปสรรคและข้อเสนอแนะที่มีต่อการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจระบอบการปกครองระบอบประชาธิปไตยในอำเภอนิคมพัฒนา จังหวัดระยอง เป็นการวิจัยแบบผสานวิธี ผลการวิจัยพบว่า ประชาชนมีความคิดเห็นต่อการปกครองระบอบประชาธิปไตยตามการรับรู้ของประชาชน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ปัจจัยส่วนบุคคลต่างกันมีความคิดเห็นแตกต่างกัน จึงยอมรับสมมติฐานการวิจัย ปัญหาและอุปสรรคคือประชาชน ไม่ไปใช้สิทธิ์เลือกตั้งอย่างเต็มประสิทธิภาพ โดยทั่วถึงและทุกฝ่าย ประชาชนไม่ทราบถึงอำนาจอธิปไตยของตนและไม่เข้าใจว่าประชาธิปไตยหมายถึงอะไร ดังนั้นจึงควรประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้กับประชาชนทุกกลุ่มเพื่อใช้มีความเข้าใจที่เป็นมาตรฐานเดียวกันเกี่ยวกับการปกครองระบอบประชาธิปไตย

References

กรุณา ขันทอง. (2551). ความรู้เรื่องประชาธิปไตยของพนักงานบริษัท รอยัลอินดัสตรีส์ (ไทยแลนด์) จำกัด มหาชน (สารนิพนธ์ปริญญาศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง). นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย.

จักษ์ พันธ์ชูเพชร. (2549). การเมืองการปกครองของไทย จากยุคสุโขทัยสู่สมัยทักษิณ (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: พั้นช์ กรุ๊ป Punch Group.

จันทิมา ทองเจริญ. (2552). พฤติกรรมการสื่อสารกับพฤติกรรมการมีส่วนร่วมทางการเมืองของนักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง (วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ประภัสสร ทองยินดี. (2558). ประชาธิปไตย: แนวคิดและหลักการเบื้องต้น. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย, 5(3), 2-12.

ปูน วิเศษศรี. (2563). การปกครองระบอบประชาธิปไตยตามการรับรู้ของประชาชนในอำเภอนิคมพัฒนา จังหวัดระยอง (วิทยานิพนธ์ปริญญารัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์). พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พงษ์เมธี ไชยศรีหา. (2561). ความรู้ความเข้าใจในหลักการประชาธิปไตยและทัศนคติของประชาชนที่มีต่อการพัฒนาวัฒนธรรมทางการเมืองประชาธิปไตยในเขตเทศบาลเมืองชุมแพ จังหวัดขอนแก่น. วารสารวิชาการและวิจัย, 8(3), 3-24.

พระชาญชัย ติสฺสวํโสและคณะ. (2563). การประยุกต์หลักพุทธธรรมเพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในเขตเทศบาลนครระยอง จังหวัดระยอง. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 9(1), 244-254.

พระบุญเธง อตฺตรกฺขิโต (เสา). (2558). การปกครองในระบอบประชาธิปไตยตามทัศนคติของพระสงฆ์อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี (วิทยานิพนธ์ปริญญารัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง). นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

พระมหาจักรพงศ์ ชินเมธีและคณะ. (2563). แนวคิดทางการเมืองของขงเบ้งในวรรณกรรมสามก๊กที่มีต่อสังคมไทย. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 9(1), 223-232.

พระอโณทัย กตปุญฺโและคณะ. (2563). การส่งเสริมจิตสำนึกการเมืองภาคพลเมืองเพื่อการพัฒนาระบอบประชาธิปไตยของประชาชน อำเภอเมืองแพร่ จังหวัดแพร่. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 9(1), 47-58.

สุขุม เกสรสิทธิ์. (2552). พฤติกรรมการรับรู้ข่าวสารทางการเมืองของพนักงานภาคเอกชน:ศึกษากรณีเฉพาะพนักงานบริษัท เนชั่นพับลิชชิ่งกรุ๊ป จำกัด. (วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

สุทัศน์ ผลบุญ. (2555). พฤติกรรมการรับรู้ข่าวสารการเมืองของประชาชนในเทศบาลตำบลบ้านค้อ อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น (สารนิพนธ์ปริญญาศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง). นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย.

อรวลี สีแพรไพล. (2551). การรับรู้ข่าวสารและความเข้าใจทางการเมืองของข้าราชการรัฐสภา. (วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

Yamane, T. (1973). Statistics: An Introductory Analysis. New York: Harper and Row Publications.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-06-17

How to Cite

วิเศษศรี ป., นันทิยะกุล ป., สุยะพรหม ส., & จิรัฏฐิติกาล ส. (2020). การปกครองระบอบประชาธิปไตยตามการรับรู้ของประชาชน ในอำเภอนิคมพัฒนา จังหวัดระยอง. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 9(2), 27–38. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jssr/article/view/240465