การส่งเสริมจิตสำนึกการเมืองภาคพลเมืองเพื่อการพัฒนาระบอบประชาธิปไตยของประชาชน อำเภอเมืองแพร่ จังหวัดแพร่

ผู้แต่ง

  • พระอโณทัย กตปุญฺโญ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • เติมศักดิ์ ทองอินทร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • ธัชชนันท์ อิศรเดช คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

คำสำคัญ:

การส่งเสริม, จิตสำนึกการเมือง, การเมืองภาคพลเมือง

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการส่งเสริมจิตสำนึกเปรียบเทียบความคิดเห็น และศึกษาปัญหา อุปสรรคและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการส่งเสริมจิตสำนึกการเมืองภาคพลเมือง เป็นการวิจัยแบบผสานวิธีพบว่า การส่งเสริมจิตสำนึกการเมืองภาคพลเมืองเพื่อการพัฒนาระบอบประชาธิปไตยของประชาชน อยู่ในระดับมาก ปัจจัยส่วนบุคคลต่างกันมีความคิดเห็นแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จึงยอมรับสมมติฐานการวิจัย ปัญหาและอุปสรรค คือ ประชาชนขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสิทธิและหน้าที่ตามรัฐธรรมนูญที่ถูกต้องประชาชนยังไม่ได้รับการสนับสนุนกิจกรรมสาธารณประโยชน์ต่างๆ และการให้ความร่วมมือรวมถึงการสนับสนุนนโยบายของรัฐบาลดังนั้นหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรให้ความรู้กับประชาชนด้านความเข้าใจเกี่ยวกับสิทธิและหน้าที่ตามรัฐธรรมนูญที่ถูกต้อง

 

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2552. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

ณัฐรินทร์ เฉลิมฤทธิวัฒน์. (2559). การมีส่วนร่วมทางการเมืองระดับท้องถิ่นของสตรีในเขตเทศบาลตำบลชุมแสง อำเภอวังจันทร์ จึงหวัดระยอง (วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

นริศ จันทวรรณ. (2560). ความเป็นพลเมืองในระบอบประชาธิปไตย: กรณีศึกษานักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ระดับปริญญาตรี ส่วนกลาง. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร, 7(1), 110.

บุศรา โพธิสุข. (2559). การมีส่วนร่วมทางการเมืองท้องถิ่นของประชาชน : ศึกษาเฉพาะกรณี ตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่. วารสารพิฆเนศวร์สาร, 12(1), 151-164.

พระอโณทัย กตปุโ. (2562). การส่งเสริมจิตสำนึกการเมืองภาคพลเมืองเพื่อการพัฒนาระบอบประชาธิปไตยของประชาชน อำเภอเมืองแพร่ จังหวัดแพร่ (วิทยานิพนธ์ปริญญารัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์). พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พิสิษฐ์ วงศารตันศิลป์. (2560). ความคิดเห็นของประชาชนในการปกครองระบอบประชาธิปไตยในเขตอำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี. วารสารดุษฎีบัณฑิตทางสังคมศาสตร์, 7(1), 190.

ยุทธพงษ์ เขื่อนแก้ว. (2559). ความรู้ความเข้าใจทางการเมืองของนักศึกษามหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์. วารสารวิชาการ แพรวากาฬสินธุ์, 3(2), 89-112.

รัฐพล ประดับเวทย์ และคณะ. (2555). การเสริมสร้างกระบวนการพัฒนาจิตสำนึกทางการเมืองแบบมีส่วนร่วมของเยาวชนระดับอุดมศึกษาในจังหวัดนครสวรรค์. วารสารวิชาการและวิจัยสังคมศาสตร์, 10(29), 29-42.

ลัดดาวรรณ์ สุขใหญ่. (2551). ความเป็นพลเมืองตามระบอบประชาธิปไตยของประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่: ศึกษาเปรียบเทียบประชาชนที่อาศัยอยู่ในเขตอำเภอเมือง กับ อำเภอดอยสะเก็ด (ค้นคว้าอิสระรัฐศาสตรมหาบัณฑิต). เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

สถาบันพระปกเกล้า. (2555). ความเป็นพลเมืองกับอนาคตประชาธิปไตยไทย. กรุงเทพฯ: ส เจริญการพิมพ์.

สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ. (2562). หลักสูตรวัยใสใจสะอาด “Youngster with Good Heart” ระดับอุดมศึกษา. นนทบุรี: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-03-27

How to Cite

กตปุญฺโญ พ., ทองอินทร์ เ. ., & อิศรเดช ธ. . (2020). การส่งเสริมจิตสำนึกการเมืองภาคพลเมืองเพื่อการพัฒนาระบอบประชาธิปไตยของประชาชน อำเภอเมืองแพร่ จังหวัดแพร่. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 9(1), 47–58. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jssr/article/view/239417